แสงสว่างในสถานที่ทำงาน

Main Article Content

วัชราภรณ์ วงศ์สกุลกาญจน์

บทคัดย่อ

แสงสว่างมีบทบาทสำคัญในการทำงานของมนุษย์ แสงสว่างน้อยเกินไปก่อให้เกิดอาการปวดตา เมื่อยล้าสายตา ปวดศีรษะ ในทางกลับกันแสงสว่างมากเกินไปเป็นสาเหตุให้พนักงานเกิดความไม่สบายตา แสบตา เมื่อยล้าทางสายตา ปวดศีรษะ อุบัติเหตุและสมรรถภาพในการมองเห็นลดลง แสงสว่างที่ไม่เหมาะสมยังส่งผลให้ประสิทธิภาพในการทำงานของผู้ปฏิบัติงานลดลงอีกด้วย การออกแบบระบบแสงสว่างในสถานที่ทำงานมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมองเห็นสิ่งที่เป็นอันตรายได้อย่างชัดเจน ลดการสัมผัสแสงที่สว่างเกินไปหรือน้อยเกินไปและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานอีกด้วย นายจ้างต้องจัดแสงสว่างให้เหมาะสมกับลักษณะงานเนื่องจากแสงสว่างที่เพียงพอช่วยให้พนักงานมีสมาธิในการทำงานดีขึ้นและช่วยเพิ่มผลผลิตในการทำงาน นอกจากนี้แสงสว่างที่เพียงพอยังลดปัญหาสุขภาพสายตาที่อาจเกิดกับพนักงานได้ การประเมินความเข้มของแสงสว่างในการทำงานจึงเป็นสิ่งสำคัญที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน หากแสงสว่างในการทำงานไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กฎหมายกำหนดไว้นายจ้างจะได้ใช้ผลการตรวจวัดประกอบการพิจารณาในการปรับปรุงต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชัญญากานต์ โกกะพันธ์, นิพาวรรณ์ แสงพรม, กิตติยา ฝ้ายเจริญ, คนธนันท์ อุตชุมพิสัย, ณฤดี พูลเกษม, นิชาภา เหมือนนาค, ยศภัทร ยศสูงเนิน.ปัจจัยที่มีผลต่อระดับความเข้มแสงสว่างในโรงผลิตเครื่องปั้นดินเผา กรณีศึกษา โรงผลิต เครื่องปั้นดินเผา เขตเทศบาลตำบลด่านเกวียน อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา. (2562). เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ.2562 “สังคมผู้สูงวัย:โอกาสและความท้าทายของอุดมศึกษา. ประเทศไทย, 1078-1086.

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง. (2561, 21 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 135 ตอนพิเศษ 39ง. หน้า 15.

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการตรวจวัดและการวิเคราะห์สภาวะการทำงานเกี่ยวกับระดับความร้อน แสงสว่าง หรือเสียง รวมทั้งระยะเวลาและประเภทกิจการที่ต้องดำเนินการ. (2561, 12 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 135 ตอนพิเศษ 57ง. หน้า 11-16.

ปัญจ์ปพัชรพร บุญพร้อม, สุคนธ์ ขาวกริบ, สิทธิพันธ์ ไชยนันท์. (2562). การตรวจวัดสิ่งคุกคามในสภาพแวดล้อมการทำงานของพนักงานโรงงานซักฟอกย้อม เครื่องนุ่งห่มแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรสาคร. วารสารสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร. 8(1), 18-33.

พจน์ ภาคภูมิ พงษ์สิทธิ์ บุญรักษา การประเมินแสงสว่างในสถานที่ทำงานในช่วงเวลากะกลางวันและกลางคืนของโรงงานผลิต ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์แห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี. (2561). วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 11(1), 78-85.

Fitzgerald, BW. (2018). Using Hawkeye from the Avengers to communicate on the eye. Advances in physiology education. 42(1), 90-98.

Gramatikov, B., Irsch, K, Guyton, D. (2013). Pupil Size Dynamics During the First Minutes of Dark Adaptation While Fixating on a Target. Investigative Ophthalmology & Visual Science. 54(15), 4374.

Harb, F., Hidalgo, MP., Martau, B. (2015). Lack of exposure to natural light in the workspace is associated with physiological, sleep and depressive symptoms. Chronobiology International. 32(3), 368-375.

Joshi, S. M. (2008). The sick building syndrome. Indian journal of occupational and environmental medicine. 12(2), 61-64.

Knez, I. (2001). Effects of colour of light on nonvisual psychological process. Journal of Environmental Psychology. 21(2), 201-208.

Leblebici, D. (2012). Impact of workplace quality on employee’s productivity: Case study of a bank in Turkey. Journal of Business Economics and Finance. 1, 1, 38–49.

Olympus corporation. 2020. Sources of Visible Light. Retrieved March 3, 2020, from https://www.olympus-lifescience.com/en/microscope-resource/primer/lightandcolor/lightsourcesintro/

Rea, M., Figueiro, M., Bullough, J. (2002). Circadian photobiology: an emerging framework for lighting practice and research. Lighting Research & Technology. 34(3), 177-187.

Rostron, J. (2008). Sick building syndrome: A review of causes, consequences and remedies. Journal of Retail & Leisure Property. 7(4), 291-303.

Sliney, DH. (2016). What is light? The visible spectrum and beyond. Eye (Lond). 30(2), 222-229.

Stone, PT. (2009). A model for the explanation of discomfort and pain in the eye caused by light. Lighting Research & Technology. 41(2), 109–121.

van Bommel, W., van den Beld, G. (2004). Lighting for work: a review of visual and biological effects. Lighting Research & Technology. 36(4), 255-266.

Wessolowski, N., Koenig, H., Schulte-Markwort, M., & Barkmann, C. (2014). The effect of variable light on the fidgetiness and social behavior of pupils in school. Journal of Environmental Psychology. 39, 101–108.

Zele, A. J., Maynard, M. L., Joyce, D. S., & Cao, D. (2014). Effect of rod-cone interactions on mesopic visual performance mediated by chromatic and luminance pathways. Journal of the Optical Society of America. A, Optics, image science, and vision, 31(4), A7-A14.