การมีส่วนร่วมของครอบครัวในการประเมิน และจัดการความปวดของผู้ป่วยเด็กเล็ก

ผู้แต่ง

  • ยุพาภรณ์ ติรไพรวงศ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 2/1 ถ.พญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
  • นุสรา ประเสริฐศรี งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 224 ถ.พลแพน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000

คำสำคัญ:

Pain Management, Family Participation, Pain Assessment, Young Children Clients

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

เด็กที่มีภาวะเจ็บป่วยทั้งที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและอยู่ที่บ้านมีโอกาสที่จะมีความปวด
ทั้งพยาธิสภาพโรค การตรวจวินิจฉัย และการรักษา ความปวดมีผลกระทบทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเด็กและครอบครัว โดยเฉพาะผู้ป่วยเด็กเล็กที่มีข้อจำกัดในการสื่อสาร เช่น มีการเจ็บป่วยนานมากขึ้น การหายของแผลช้า ระบบภูมิคุ้มกันลดลง และอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆได้ง่าย รวมทั้ง
จะมีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการของเด็ก การประเมินและการจัดการความปวดในเด็กเล็กจึงมี
ความสำคัญมาก จุดประสงค์ของบทความนี้ เพื่อเสนอแนวคิดสำคัญเกี่ยวกับความปวดในผู้ป่วย
วัยเด็กเล็กตั้งแต่ 1 ถึง 6 ปี และแนวทางการให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการประเมินและการจัดการความปวดในผู้ป่วยเด็กเล็ก เพื่อให้การจัดการความปวดในเด็กเล็กมีประสิทธิภาพมากที่สุด บุคลากรด้านสาธารณสุขควรตระหนักเห็นความสำคัญในการจัดการความปวดในเด็กเล็ก และสนับสนุนให้ครอบครัว
มีส่วนร่วมในการจัดการความปวดเพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเด็กเล็กทนทุกข์ทรมานกับความปวด
คำสำคัญ : การจัดการความปวด การมีส่วนร่วมของครอบครัว การประเมินความปวด ผู้ป่วยเด็กเล็ก

 

Abstract


Sick children who were in the hospital or at home, are likely to have pain from pathology, investigation, and treatment. Pain has impacts on children both physical and psychological aspects as well as their family, particularly young children who have
limited communication of their pain, such as long term of illness, delayed wound
healing, immune system dysfunction, and other complications. Pain also affects the learning and development of young children. Therefore, pain assessment and management in young children are very important. The aim of this article is to present a concept of pain in young children, aged 1-6 years, and guideline for family to participate in pain
assessment and management for young children. Health care providers should concern on pain management in young children and encourage their family participation in pain management to decrease suffering from pain in their young children.
Keywords : Pain Management, Family Participation, Pain Assessment,
                Young Children Clients



Author Biographies

ยุพาภรณ์ ติรไพรวงศ์, วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ 2/1 ถ.พญาไท แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

อาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ


นุสรา ประเสริฐศรี, งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 224 ถ.พลแพน ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000

อาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์

Downloads

ฉบับ

บท

Academic Articles; บทความวิชาการ