การพัฒนาข้อเสนอสำหรับชุดบริการการดูแลที่บ้าน สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

Development of Proposed for Home Care Service Package for Dependent Older People

ผู้แต่ง

  • ปะราลี โอภาสนันท์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • พรทิพย์ ปาอิน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
  • สุนีย์ ปัญญาวงศ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ใส จังหวัดพะเยา

คำสำคัญ:

ชุดบริการดูแลที่บ้าน, ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาชุดบริการดูแลที่บ้านสำหรับผู้สูงอายุที่มี
ภาวะพึ่งพิง ผู้ให้ข้อมูล รวมทั้งสิ้น 63 คน เป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 24 คน ผู้ดูแลในครอบครัว 24 คน อาสาสมัครสาธารณสุข 12 คน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 1 คน พยาบาลวิชาชีพ ที่รับผิดชอบงานด้านผู้สูงอายุจำนวน 2 คน เก็บข้อมูลโดยวิธีการสอบถาม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนา กลุ่ม และการศึกษาเอกสาร ระยะเวลาตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 ถึง เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2559 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่และร้อยละ ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการศึกษา พบว่า ชุดบริการที่บ้านสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงควรได้รับประกอบด้วย 1. ชุดบริการสนับสนุนผู้ดูแล 2. ชุดบริการสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ ในการดูแลที่บ้าน 3. ชุดบริการดูแลสุขภาพ ที่บ้าน 4. ชุดบริการด้านความรู้ในการดูแลผู้สูงอาย และควรมีระบบสนับสนุนที่ส่งเสริมให้มีการดูแลที่บ้าน ได้อย่างมีประสทธิภาพและคงไว้ซึ่งการคงอยู่ในบ้านและชุมชนได้นานที่สุด ประกอบด้วย
1. การปรับเปลี่ยน/ปรับปรุง การออกแบบที่พักอาศัย สภาพแวดล้อม 2. การจัดบริการรับ-ส่งที่บ้าน กับสถานบริการสุขภาพตลอด 24 ชั่วโมง

References

REFERENCES
1. Sakunphanit,T. Performance of Health
Care for Elderly and Impact on Public Health Care Financing during 2011-2022. Health Insurance System Research Office,2011. (in Thai)
2. Office of The National Economic and Social Development Board. Population Projections for Thailand 2010-2040. Bangkok: October Print Press, 2013. (in Thai)
3. Srithamrongsawat, S., Bundhamcharoen, K., Sasat, S. Projection of Demand and Expenditure for Institutional Long-term Care in Thailand. Health Care Reform Project: Thai-European Cooperation for Health, 2009.
4. World Health Organization. Global Age- friendly Cities: A Guide [online]2007 [cited 2014 /10/27]. Available from: http://www.who.int/ageing/publications/ Global_age_ friendly_cities_ Guide_ English.pdf
5. Colombo, F, et al. Health Wanted? Providing and Paying for Long-term Care[online].2011 [cited 2013/7/15]. Available from: http://www.oecd-ilibrary. org/social-issues-migration-health/ help-wanted_9789264097759-en
6. Opasanant, P. and Pa-in, P. Development of Age-friendly Health and Social Service System in Community. Phayao: University of Phayao,2013. (in Thai)
7. Podhisita, C. Science and Art in Qualitative Research. 4 th ed. Bangkok: Amarin Printing and Publishing, 2009.(in Thai)
8. Boyd, C.O. Combining Qualitative and Quantitative Approaches. In P. L. Munhall, & C.O. Boyd (Eds.), Nursing Research: A Qualitative Perspective. 2 nd ed.(pp. 454-475). Boston: Jones & Bartlett, 2000.
9. Denzin, N. K. The Research Act inSociology. Chicago: Aldine, 1970.
10. Mitchell, E. S. Multiple Triangulation: A Methodology for Nursing Science. Advances in Nursing Science, 1986;8(3):18-26.
11. Chantavanich, S. Qualitative Research Methods. 22 nded. Chulalongkorn University Press, 2558. (in Thai)
12. Morse, J. M. Critical Issues in Qualitative Research Methods. Thousand Oaks: SAGE, 1994.
13. Institute for Population and Social Research, Mahidol University. Population Aging in Thailand 2014 [online]. Available from: http://www.pr.mahidol.ac.th/ipsr/ Contents/Books/ FullText/2014/2014- Population-Aging-Poster.pdf.
14. Foundation of Thai Gerontology Research and Development Institute. Situation of the Thai elderly 2012-2014 [online].
2015. Available from: www.thaigri.org
15. Aekplakorn, W., et al. Thai National Health Examination Survey V. Bangkok: Aksorn Graphic and Design, 2014. (in Thai)
16. Suwanrada, W., Chalermwong, D., Damjuti, W., Kamruangrit, S., and Boonma,J. Long Term Care System for Old-age Security Promotion: Research Report Submitted to Office of the Welfare Promotion Protection and Empowerment of Vulnerable Groups,
2010. (in Thai)
17. Kumniyom, N. and Sritanyarat, W. Needs of Long Term Care Service Packages for Frail Older Persons in Community. Journal of Nursing and Health Care,
2016; 34(3):125-131.
18. Sarai, K.Study of Long-term Care Model for the Elderly in Japan and Thailand. Proceedings of the 9 th National Conference on Disability, Bangkok
2016: 165-176. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-10-29

ฉบับ

บท

Research Articles; บทความวิจัย