สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและฤทธิ์การต้านออกซิเดชันในหอมแดงและเปลือกหอมแดงศรีสะเกษ
คำสำคัญ:
หอมแดงศรีสะเกษ , เปลือกหอมแดง , ฤทธิ์การต้านออกซิเดชัน , สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ได้ศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระในหอมแดง (Allium ascalonicum L.) และเปลือกหอมแดงศรีสะเกษ นำมาวิเคราะห์ปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมดและฟลาโวนอยด์ทั้งหมด รวมถึงฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH และ FRAP ผลการศึกษาพบว่าตัวอย่างเปลือกหอมแดงมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์ทั้งหมด (99.68 mg GAE/g dry basis และ 67.97±0.85 mg RE/g dry basis ตามลำดับ) สูงกว่าในตัวอย่างหอมแดง (p <0.05) ตัวอย่างเปลือกหอมแดงมีฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH (365.23±4.78 mg TE/g dry basis) และฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FRAP (103.42 ±3.94 mg FeSO4/g dry basis) สูงกว่าในตัวอย่างหอมแดง (p <0.05) ดังนั้นข้อมูลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าหอมแดงและเปลือกหอมแดงสามารถเป็นข้อมูลพื้นฐานในการนำไปประยุก ใช้ในการพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพต่อไป
References
กลุ่มสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดศรีสะเกษ. (2563). ฐานข้อมูลรายสินค้า หอมแดงศรีสะเกษ (GI). สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 32-34. https://www.opsmoac.go.th/sisaket-dwl-files-421591791303
ศิริลักษณ์ ศรีสันต์, พิกุลทอง สืบศรี, ขนิษฐา ฉิมพาลี และจิรนันต์ รัตสีวอ. (2023). ผลของการนึ่งต่อคุณสมบัติทางเคมี กายภาพและสารประกอบฟี น อ ลิ ก ทั้งหมด ใน ผง เปลือก ทุเรียน ภูเขาไฟ ศรีสะเกษ. วารสาร วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ราชภัฏ ศรีสะเกษ. 3(1). 68-76.
Anh P.T.H., Truc L.T.G. and An T.T.T. (2023). Shallot peel (Allium ascalonicum L.) extract, the antioxidative, antibacterial properties and fish preservation capacity. Vietnam Journal of Chemistry. 61(2). 253-261.
Duan Y., Jin D.H., Kim H.S., Seong J.H., Lee Y.G., Kim D.S., Kim H.S., Chung and Jang S.H. (2015). Analysis of total phenol, flavonoid content and antioxidant activity of various extraction solvents extract from onion (Allium cepa L.) peels. Journal of the Korean Applied Science and Technology, 32(3), 418-426.
Jaitae S. (2022). Effects of Growing Media from Agricultural Waste on Growth of Green Oak (Lactuca sativa var. crispa L.. Journal of Agricultural Production, 4(3), 13-21. (In Thai)
Office of Agricultural Economics. (2020). Agricultural product production data 2020. [Online]
Available from http: / /www.oae.go.th. [Accessed May 31, 2023] (In Thai).
Halliwell B. (2007). Dietary polyphenols: good, bad, or indifferent for your health. Cardiovascular research, 73(2), 341-347.
Musika J. and Musika T. (2021). Development of Healthy Shallot Herbal Tea (Allium ascalonicum L.) with Antioxidant Activities. Journal of Food Technology, Siam University, 16(2), 148–159. (In Thai)
Phugan P., Inket S., Pramai P. and Singsom S. (2020). Development of Stir-Fried Chilli Paste From Herb. Rajabhat Rambhai Research journal, 14(1), 131-138. (In Thai)
Procházková D., Boušová I. and Wilhelmová N. (2011). Antioxidant and prooxidant properties of flavonoids. Fitoterapia, 82(4), 513-523.
Ratseewo J., Warren F.J., Meeso N. and Siriamornpun S. (2022). Effects of far-infrared radiation drying on starch digestibility and the content of bioactive compounds in differently pigmented rice varieties. Foods, 11(24), 4079.
Tangkawanit S. (2018). Nano Carbon and Tithanuim Dioxide Cotton Fabrics Dyeing with Allium ascalonicum Linn. Skin. Journal of Industrial Technology Ubon Ratchathani Rajabhat University, 8(1), 63-73. (In Thai)
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการกัญชา กัญชง และสมุนไพร
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ประกาศเกี่ยวกับลิขสิทธิ์
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื่อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการดีพิมพ์ในวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรณ์จากวารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ก่อนเท่านั้น