ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดสมุทรสงคราม

ผู้แต่ง

  • นิวัฒน์ ทรงศิลป์ College of Allied Health Sciences, Suan Sunandha Rajabhat University
  • นฤพันธ์ จันทร์ดวน
  • ฮีดายะห์ เจ๊ะแว

คำสำคัญ:

ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, พฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019, นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกัน
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกัน
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของนักเรียนชั้นมัธยมปลายในจังหวัดสมุทรสงคราม กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดสมุทรสงคราม จำนวน 373 คน ซึ่งคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ
เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน

ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรอบรู้ด้านสุขภาพอยู่ในระดับดีร้อยละ 50.9
พฤติกรรมการป้องกันโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อยู่ในระดับดีร้อยละ 46.4 นอกจากนี้ยังพบว่าความรอบรู้
ด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (r = .656, p < 0.001) ผลการศึกษาในครั้งนี้สามารถนำไปใช้ในการวางแผนเพื่อการยกระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพและสร้างพฤติกรรมการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 รวมถึงการจัดโครงการหรือกิจกรรม
สร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายต่อไป

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). แนวทางปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือโควิด 19 สำหรับประชาชนทั่วไปและกลุ่มเสี่ยง. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2566 จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/int_protection/int _protection_030164.pdf

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2566). สถานการณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19. สืบค้น 1 ธันวาคม 2566

จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/

กองสุขศึกษา กระทรวงสาธารณสุข. (2564). การสร้างเสริมและประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรม

กลุ่มวัยเรียน วัยทำงาน. นนทบุรี: นิวธรรมดาการพิมพ์.

กองสุขศึกษา กระทรวงสาธารณสุข. แบบประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ตาม 3อ. 2ส. ของประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ฉบับปรับปรุงปี 2563. สืบค้น 16 มีนาคม 2566. จาก http://www.hed.go.th/linkHed/index/401

จิระภา ขำพิสุทธิ์. (2564). ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ของนักศึกษา

คณะศึกษาศาสตร์ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน, 7(4), 17-28.

ดาวรุ่ง เยาวกูล,ปาจรีย์ อับดุลลากาซิม, และนิภา มหารัชพงศ์. (2565). ความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรม

การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในเขตสุขภาพที่ 6. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 15(1),257-272.

ทรงทรรศน์ จินาพงศ์ และ ภัทราวุธ ขาวสนิท. (2563). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพและกิจกรรม ทางกายของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. วารสารสุขศึกษา พลศึกษา

และสันทนาการ, 46(2),56-67.

ทศพล ชำนาญกิจ, วรรณวิมล เมฆวิมล กิ่งแก้ว, ปริศนา เพียรจริง, และคณะ. (2565). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพของนักศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาธารณสุขมหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งหนึ่ง. วารสารวิจัยสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 4(2), 47-57.

รำพึง นุ่มสารพัดนึก. (2565). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด 19 ของนักเรียน มัธยมศึกษา จังหวัดนครนายก. วารสารสรรพสิทธิเวชสาร, 43(3),91-110.

สุภาภรณ์ วงธิ. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของอาสาสมัคร

สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย (วิทยนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร).

ThaiLIS. https://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/bitstream/123456789/3227/3/62060668.pdf

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสงคราม. (2566). รายงานสถานการณ์การดำเนินงานการได้รับวัคซีน

ไวรัสโคโรนา 2019. สมุทรสงคราม: สำนักงานยุทธศาสตร์จังหวัดสมุทรสงคราม.

เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์, มิ่งขวัญ ศิริโชติ, ปัณณวิชญ์ ปิยะอร่ามวงศ์ และคณะ.(2564). การรับรู้และพฤติกรรม การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส โคโรน่า 2019 (COVID 19) ของนักเรียน มัธยมศึกษาตอน

ปลาย กรุงเทพมหานคร. วารสารศิลปะศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ,9,36-49.

อินทิตา อ่อนลา และคณะ. (2565). ปัจจัยทำนายพฤติกรรมในการป้องกันโรคโคโรนาไวรัส 2019

(โควิด-19) ในนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา.การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ

ครั้งที่ 13 .สืบค้น 2 มีนาคม 2566 จาก

https://www.hu.ac.th/Conference/conference2022/proceedings/doc/05%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E/17-Hel-221%20(920%20-%20932).pdf

Dryhurst, S., Schneider, C. R., Kerr, J., Freeman, A. L. J., Recchia, G., van der Bles, A. M., … van

der Linden, S. (2020). Risk perceptions of COVID-19 around the world. Journal of Risk

Research, 23(7–8), 994–1006. https://doi.org/10.1080/13669877.2020.1758193

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities.

Educational and Psychological Measurement, 30(3):607-610.

Nutbeam, D. (2000). Health literacy as a public health goal: a challenge for contemporary

health education and communication strategies into the 21st century. Health Promotion International, 15, 259-267.

World Health Organization. (2020). Coronavirus disease 2019 (COVID-19) situation report.

Retrievedfrom: https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/situation-reports.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-07-24