ประสิทธิผลของตำรับสเปรย์สมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็นเปรียบเทียบกับ สเปรย์สมุนไพรเดี่ยวที่มีฤทธิ์เย็นในการรักษาโรคลมจับโปงน้ำเข่า

ผู้แต่ง

  • ศศิพิสุทธิ์ หงษ์สมบัติ วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  • ภัทรพล อุดมลาภ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 (อุดรธานี)
  • ปรางทอง ชำนิพันธ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์

คำสำคัญ:

ตำรับสเปรย์สมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็น สเปรย์สมุนไพรเดี่ยวที่มีฤทธิ์เย็น จับโปงน้ำเข่า ประสิทธิผล

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของตำรับสเปรย์สมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็น เปรียบเทียบกับสเปรย์สมุนไพรเดี่ยวที่มีฤทธิ์เย็นในการรักษาโรคลมจับโปงน้ำเข่า กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง ตามคุณสมบัติเกณฑ์การคัดเข้า 20 คน สุ่มอย่างง่ายเข้ากลุ่มทดลอง 10 คน กลุ่มควบคุม 10 คน กลุ่มทดลองได้รับตำรับสเปรย์สมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็น กลุ่มควบคุมได้รับสเปรย์สมุนไพรเดี่ยวที่มีฤทธิ์เย็น ใช้สเปรย์เช้าและก่อนนอน ห้ามล้างออก 6 ชั่วโมง 12 สัปดาห์ ประเมินวัดระดับความปวด (VAS) การบวม และ KOOS สถิติ คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐาน paired samples t-test และ Independent t-test

              ผลการวิจัยพบว่าหลังรักษา กลุ่มทดลอง มีระดับความปวด การบวม อาการ อาการปวด กิจวัตรประจำวัน การเคลื่อนไหวในการออกกำลังกายและการทำกิจกรรมอื่น ๆ และคุณภาพชีวิต ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) กลุ่มควบคุม การบวม อาการปวด กิจวัตรประจำวัน การเคลื่อนไหวในการออกกำลังกายและการทำกิจกรรมอื่น ๆ ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่ระดับความปวด อาการ และคุณภาพชีวิต ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ระดับความปวด คะแนนประเมินข้อเข่าที่เพิ่มขึ้น แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) แต่การบวมไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ     

              ข้อเสนอแนะ ตำรับสเปรย์สมุนไพรที่มีฤทธิ์เย็นเป็นทางเลือกในการรักษาโรคลมจับโปงน้ำเข่า ที่มีประสิทธิผล

References

กรกฎ ไชยมงคล. (2562). ประสิทธิผลของการใช้ยาสมุนไพรตำรับพอกเข่าในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม

โรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรี. วารสารช่อพะยอม, 30(1), 119-128.

กรมการแพทย์, กระทรวงสาธารณสุข. (2558). คู่มือการคัดกรอง/การประเมินผู้สูงอายุ ฉบับที่ 2. นนทบุรี:

สำนักงานกิจการโรงพิมพ์สงเคราะห์องค์การทหารผ่านศึก.

กานดา ชัยภิญโญ วรกานต์ ขอประเสริฐ วิชุดา ลิขิตพิทักษ์ และอลิสา เภรีพล. (2561). ความน่าเชื่อถือในการวัด

ซ้ำของแบบประเมิน Modified Lower Extremity Functional Scale (Modified LEFS) ฉบับ

ภาษาไทย และความสัมพันธ์กับ Knee Osteoarthritis Outcome Scores (KOOS) ฉบับภาษาไทย,

Self-Pace Walk Test และ Timed Up and Go Test ในผู้ที่มีข้อเข่าเสื่อม. วารสารกายภาพบำบัด,

(3), 134-145.

เจษฎา อุดมพิทยาสรรพ์ วินัย สยอวรรณ วรายุส คตวงค์ ณัฐสุดา แก้ววิเศษ และอิศรา ศิรมณีรัตน์. (2562).

การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของการพอกเข่าด้วยตำรับยาพอกสูตรที่ 1 กับยาพอกสูตรที่ 2 ต่อ

อาการปวดเข่าและการเคลื่อนไหวข้อเข่าในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม โรงพยาบาลบางใหญ่ อำเภอบางใหญ่

จังหวัด นนทบุรี. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 11(1), 64-72.

ชุตินันท์ ขันทะยศ และกนกพร ปัญญาดี. (2560). ผลของถุงยาสมุนไพรประคบข้อเข่าในผู้ป่วย โรคข้อเข่าเสื่อม.

วารสารสุขภาพภาคประชาชน, 12(4), 43-49.

ปิยะพล พูลสุข สุชาดา ทรงผาสุข เมริษา จันทา เนตรยา นิ่มพิทักษ์พงศ์ และกิตรวี จิรรัตน์สถิต. (2561).

ประสิทธิผลของยาพอกสมุนไพรเพื่อบรรเทาอาการปวดเข่า ในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม.

ธรรมศาสตร์เวชสาร, 18(1), 104-111.

โรงเรียนอายุรเวทธำรง สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

มหาวิทยาลัยมหิดล. (2557). หัตถเวชกรรมแผนไทย (การนวดไทยแบบราชสำนัก) ตอนที่ 2 : การ

นวดกดจุดสัญญาณ. กรุงเทพมหานคร: ศุภวนิชการพิมพ์.

ศิลดา การะเกตุ นิชกานต์ สุยะราช พัชรินทร์ ใจดี สมบัติ กาศเมฆ สุนทร พรมเผ่า และผณิตา ประวัง. (2560).

การศึกษาเปรียบเทียบระดับความเจ็บปวดก่อนและหลังจากการรักษาโคลนสมุนไพรพอกเย็นร่วมกับ

การนวดแผนไทยในผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า. เชียงรายเวชสาร, 9(2), 115-24.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2564). การสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2564. กรุงเทพ: กองสถิติพยากรณ์

สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

อรสา สารพันโชติวิทยา. (2564). การวิจัยและพัฒนายาสมุนไพร: สมุนไพรกระตุ้นภูมิคุ้มกันและต้านอักเสบ

(พิมพ์ครั้งที่ 2). พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

อาวุธ หงษ์ศิริ ศศิชา มูลทองคำ ศุภรัตน์ ดวนใหญ่ เพชรน้ำผึ้ง รอดโพธิ์ และอัจฉรา แก้วน้อย. (2565).

ประสิทธิผลเจลพอกเข่าต่อระดับความปวดของเข่าในผู้สูงอายุที่มารับบริการ ณ ช่อชงโคคลินิก

การแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 7(1), 77-86.

Cross, M., Smith, E., Hoy, D., Nolte, S., Ackerman, I., Fransen, M., et al. (2014). The global

burden of hip and knee osteoarthritis: estimates from the global burden of disease

study. Ann Rheum Dis, 73(7), 1323-1330.

Cui, A., Li, H., Wang, D., Zhong, J., Chen, Y., Lu, H., (2020). Global, regional prevalence,

incidence and risk factors of knee osteoarthritis in population-based studies,

E Clinical Medicine, 29–30: 100587.

Hall, J., Laslett, LL., Martel-Pelletier, J., Pelletier, JP., Abram, F., Ding, CH., et al. (2016).

Change in knee structure and change in tibiofemoral joint space width: a five year

longitudinal population-based study. BMC Musculoskelet Disord. 17:25.

Jiang, X.L., Wang, L., Wang, E.J., Zhang, G.L., Chen, B., Wang, M.K. & Li, F. (2018). Flavonoid

glycosides and alkaloids from the embryos of Nelumbo nucifera seeds and their

antioxidant activity. Fitoterapia, 125, 184-190.

Kaewpiboon, C., Winayanuwattikun, P., Yongvanich, T., Phuwapraisirisan, P & Assavalapsakul, W.

(2014). Effect of three fatty acids from the leaf extract of Tiliacora triandra on

P-glycoprotein function in multidrug-resistant A549RT-eto cell line. Pharmacognosy

Magazine, 10(3), 549-56.

Katisart, T., & Rattana, S. (2017). Hypoglycemic activity of leaf extract from Tiliacora triandra in

normal and streptozotocin-induced diabetic rats. Pharmacogn. J, 9(5), 621-625.

Oboh, G., Ogunruku, O.O., Oyeleye, S.I., Olasehinde, T.A., Ademosun, A.O. & Boligon, A.A. (2017).

Phenolic extracts from Clerodendrum volubile leaves inhibit cholinergic and

monoaminergic enzymes relevant to the management of some neurodegenerative

diseases. Journal of Dietary Supplements, 14(3), 358-371.

Pan, Q., O’Connor, MI., Coutts, RD., Hyzy, SL., Olivares-Navarrete, R., Schwartz, Z., et al. (2016).

Characterization of osteoarthritic human knees indicates potential sex differences.

Biol. Sex. Differ. 7, 27. doi:10.1186/s13293-016-0080-z

Torres Castaneda, H.G., Colmenares Dulcey, A.J. & Isaza Martinez, J.H. (2016). Flavonoid

glycosides from Siparuna gigantotepala leaves and their antioxidant activity.

Chemical and Pharmaceutical Bulletin (Tokyo), 64(5), 502-506.

Suebsasana, S., Pongnaratorn, P., Sattayasai, J., Arkaravichien, T., Tiamkao, S., Aromdee C.

(2009). Analgesic, antipyretic, anti-in-flammatory and toxic effects of andrographolide

derivatives in experimental animals. Arch Pharm Res, 32(9), 1191-200.

Xiang, H., Zhang, L., Yang, Z., Chen, F., Zheng, X. & Liu, X. (2017). Chemical compositions,

antioxidative, antimicrobial, anti-inflammatory and antitumor activities of Curcuma

aromaticaSalisb. essential oils. Industrial Crops and Products, 108, 6-16.

Zheng, H., Chen, C. (2015). Body mass index and risk of knee osteoarthritis: systematic review

and meta-analysis of prospective studies. BMJ Open, 5(12): e007568

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-31