ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาเสริมสร้างต่อความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพ เรื่องการส่งเสริมสุขภาพตนเองในยุควิถีใหม่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนแห่งหนึ่งในเขตพื้นที่ อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี

ผู้แต่ง

  • รัชดาพร ฐานมั่น สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
  • นัฏกร สุขเสริม สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
  • ชลธิรา กาวไธสง สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
  • รุ่งนภา สิงห์สถิตย์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
  • ภณิชชา จงสุภางค์กุล สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
  • รุ่งอรุณ สุทธิพงษ์ สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
  • ณิภารัตน์ บุญกุล สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

บทคัดย่อ

การวิจัยกึ่งทดลองศึกษากลุ่มเดียววัดก่อนและหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพ เรื่อง การส่งเสริมสุขภาพตนเองในยุควิถีใหม่ระหว่างก่อนและหลังการให้โปรแกรมโปรแกรมสุขศึกษากลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 60 คน ทำการจัดกิจกรรมสุขศึกษาจำนวน 6 ครั้ง ภายใน  6 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพและแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพ เรื่องการดูแลส่งเสริมสุขภาพตนเองในยุควิถีใหม่ ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและค่าความเที่ยง คำนวณหาค่าความเชื่อมั่น (KR-20) เท่ากับ 0.80 สถิติที่ใช้ Paired Sample t-test ผลการวิจัยพบว่า

          คะแนนเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมสุขภาพตนเองในยุควิถีใหม่ของนักเรียนหลังได้รับโปรแกรมสุขศึกษาฯ (M=20.30, SD=2.68) สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมสุขศึกษาฯ (M=14.15, SD=3.32) อย่างมีนัยำสคัญทางสถิติที่ระดับ .001      

          โรงเรียนควรจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจทางสุขภาพ เรื่องการดูแลส่งเสริมสุขภาพตนเองในยุควิถีใหม่ให้กับนักเรียน เพื่อให้เกิดการต่อยอดองค์ความรู้เดิม เสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาทักษะชีวิตและความสามารถเชิงสมรรถนะเฉพาะบุคคลที่เหมาะสมกับสังคมยุควิถีใหม่ได้อย่างสมดุล

References

กรกนก คําโกน, จินตนา สรายุทธพิทักษ์, รัชนี ขวัญบุญจัน, และสุธนะ ติงศภัทิย์. (2564). ผลการใช้โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพโดยใช้กรอบความคิดแบบเติบโตร่วมกับรูปแบบการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ที่มีต่อความสุขของ เรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเดชอุดม. วารสารสุขศึกษา พลศึกษา และสันทนาการ. 47(1), 332-344.

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2565). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/index.php

กฤชมล สมรักษ, นารี ฝอยทอง, เกศิณี หาญจังสิทธิ์, และอุรารัช บูรณะคงคาตรี. (2563). ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาโรคพยาธิใบไม้ตับของพลทหาร จังหวัดอุบลราชธานี. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ.2563. (หน้า 1119-1130), พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราฎพิบูลสงคราม.

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2564). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติพ.ศ.2561-2580. สืบค้น 1 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://spd.moph.go.th/wp- content/uploads/2022/09/1-Stability1.pdf.

ก้องเกียรติ เชยชม. (2564). ปัจจัยเชิงสาเหตุของพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน. วารสารวิชาการกีฬา มหาวิทยาลัยแห่งชาติ. 13(2), 170-180.

ขวัญใจ ลอยแก้ว, สุรีย์พันธุ์วรพงศธร, ธวัชชัย วรพงศธร และเกษม ชูรัตน์. (2562). ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์โมเดลการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล อำเภอบ้านคาจังหวัดราชบุรี. วชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง. 63(4), 283-296.

จิตตาวดี วิจารณ์, นฤมล คำสมบัติ, เกศิณี หาญจังสิทธิ์ และอุรารัช บูรณะคงคาตรี. (2563). ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาการป้องกันโรคพยาธิต่อความรู้และการรับรู้ภาวะสุขภาพ ของพลทหาร จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน, 3(2), 44-56.

ชลธิชา แป้นเชื้อ, สุวิมล ติรการนันท์ และกมลทิพย์ ศรีหาเศษ. (2564). การศึกษาองค์ประกอบการดูแลรักษาสุขภาพตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 4(3), 970-981.

ณัฐหทัย นิรัติศัย และณัฐชยา กำแพงแก้ว. (2564). ระบบสาธารณสุขไทย : ความท้าทายในสถานการณ์วิกฤติ. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม. 6(3), 174-188.

นันท์นภัส เพ็ชรสุวรรณ และสุเวช พิมน้ำเย็น. (2560). ผลการใช้โปรแกรมการส่งเสริมการปฏิบัติสุขอนามัยส่วนบุคคลต่อ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการป้องกันโรคอุจจาระร่วงในชุมชนชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง อำเภองาว จังหวัด ลำปาง. สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. 6(1), 15-26.

ตวัน ประทุมสุวรรณ และบัวทอง สว่างโสภากุล. (2564). การเห็นคุณค่าในตนเอง ความแข็งแกร่งของจิตใจกับการดูแลตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี) 2 กรุงเทพมหานคร. วารสารสมาคมนักวิจัย. 26(1), 308-323.

ประไพ กิตติบุญถวัลย์, จีราภรณ์ ชื่นฉ่า และศักดิ์มงคล เชื้อทอง. (2565). ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยเรียน. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม. 7(2), 71-84.

วรารัตน์ ทิพย์รัตน์, กนกพรรณ พรหมทอง และมนตรี รักภักดี.(2564). ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพ พฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และค่าดัชนีลูกน้ำ ยุงลาย จังหวัดตรัง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 40(5), 71-84.

สุนารี ทะน๊ะเป็ก. (2562). ผลของโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อสร้างเสริมการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความงามของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในจังหวัดสุโขทัย. วารสารโรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์. 13(1), 1-16.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.nesdc.go.th/download/ document/SAC/NS_PlanOct2018. pdf.

อรุณ จิรวัฒน์กุล. (2553). สถิติทางวิทยาศาสตร์สุขภาพเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.

Bloom,Benjamin S.,et al. (1971). Hand book on Formative and Summative Evaluation of Student Learning. New York: Mc Graw-Hill Book Company.

Pender, N.J., Murdaugh, C.L., & Parsons, M.A. (2006). Health promotion in nursing practice (5th ed.). New Jersey: Pearson Education, Inc.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-31