การศึกษาการเปรียบเทียบความรู้และการปฏิบัติตัวก่อนและหลังให้สุขศึกษาเรื่องยาแก้ปวดของประชาชนใน ตำบลปิล๊อก อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี

ผู้แต่ง

  • พัณนิดา สุริวงษ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปรังกาสี
  • สุทธิศักดิ์ สุริรักษ์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดสุพรรณบุรี

คำสำคัญ:

สุขศึกษา, ยาแก้ปวด

บทคัดย่อ

การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความรู้และพฤติกรรมการใช้ยาแก้ปวดก่อนและหลังการให้สุขศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้มารับยาแก้ปวดที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป และอยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปิล๊อก จำนวน 30 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม 3 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยา และพฤติกรรมการใช้ยาแก้ปวด ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงโดยผู้เชี่ยวชาญ และทดสอบความเชื่อมั่นด้วยวิธี KR20 และอัลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดเท่ากับ 0.62 และ 0.80 ตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า

ผู้ที่มารับบริการขอยาแก้ปวดมีระดับความรู้ และพฤติกรรมการปฏิบัติตัวในการใช้ยาระหว่างก่อนและหลังได้รับความรู้เรื่องยาแก้ปวดดีขึ้น ไม่แตกต่างกัน

จากผลการวิจัยที่ได้พื้นที่ในเขตรับผิดชอบของผู้วิจัยเป็นพื้นที่ ๆ มีประชากรเป็นคนต่างด้าวการสื่อการจึงเป็นเรื่องสำคัญเวลาผู้ป่วยมารับบริการอาจมีการสื่อสารที่ผิดและไม่เข้าใจในสิ่งที่อธิบายรวมถึงวิธีการกินยาและการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง

References

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2543). คู่มือการฝึกอบรมแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ:
สำนักพัฒนาสุขภาพจิต.
กองควบคุมยา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา.(2553).มูลค่าการนำเข้าและผลิตยาแผน
ปัจจุบัน.
จิรัชฌา อุดมชัยสกุล. (2551). โรคและยาระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ. กรุงเทพฯ: 21 Century.
ทิศนา แขมมณี. (2547). ศาสตร์การสอน:องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษัทด่านสุทธาการพิมพ์.
ทิศนา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
(พิมพ์ ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์.(ม.ป.ป.).การวัดและประเมินผลการศึกษาทฤษฎีและประยุกต์.
พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. เทคนิคการสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลสำหรับการวิจัย.
พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2542.
บุษบา สุวรรณศรี. (2537). การรับรู้ต่อยาแก้ปวด:กรณีการใช้ยาแก้ปวดรักษาตนเอง.
วิทยานิพนธ์สค.ม., บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
ประภาเพ็ญ สุวรรณ และคณะ.(2536). พฤติกรรมศาสตร์พฤติกรรมสุขภาพ และสุขศึกษา.
กรุงเทพฯ:คณะ สาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล.
วรรณวิไล ณ ระนอง. (2546). การใช้ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ชนิดรับประทานในผู้ป่วยนอก
ที่โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า. วิทยานิพนธ์ ภ.ม.,บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุชา จันทร์เอม. (2541). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
สุธี เวคะวากยานนท์. 2554. รู้ไว้ใช้ยา. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. (2544). ตำราการตรวจรักษาโรคทั่วไป (พิมพ์ครั้งที่ 3).
กรุงเทพมหานคร:พิมพ์ดี กรุงเทพฯ.
อนันต์ ศรีโสภา. การวัดผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ :ไทยวัฒนาพานิช,2535.
https://www.google.co.th/?gws_rd=cr&ei=VNzRWKD2GYzhvASmo4rIAQ#A3+two+independent สืบค้นในวันที่ 14 เมษายน 2560

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-28