ประสิทธิผลของการเยี่ยมบ้านเพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมดูแลสุขภาพช่องปากและปริมาณคราบจุลินทรีย์บนตัวฟันของผู้สูงอายุ

Authors

  • อนุพงษ์ สอดสี -

Keywords:

การเยี่ยมบ้าน , ผู้สูงอายุ, คราบจุลินทรีย์บนตัวฟัน

Abstract

Dental services are inaccessible to some groups, such as the elderly. Therefore, improving the oral health of the elderly requires changing the service model. Especially the work of promoting oral health in line with the policy of family doctors (Family care team) that focuses mainly on services in the community. The objective of this research was to study the effectiveness of home visits to promote oral health on oral health care behaviors and the amount of plaque on the teeth of the elderly. It is a preliminary experimental research. Single-group, two-measure study design. The sample group was 30 elderly people who participated in the program 4 times, 60 minutes each, consisting of activities to strengthen relationships. Assess overall health and build oral care skills and stimulate oral care skills 1-3. Collect oral health care data 2 times before and after the experiment.
And collect data on plaque on the teeth 6 times before the experiment, week 1, week 3, week 5, week 7 and after the experiment. Data were analyzed using the average. Standard deviation and Paired T-test statistics. The results showed that the sample group had a higher oral health care behavior score (=2.31 SD=0.17) than before the experiment (=1.96 SD=0.19), with a statistical significance of 0.05 (P-value < 0.001). ) and after the experiment, the sample group had a lower mean plaque score on their teeth (=52.53 SD=8.24) than before the experiment (=79.53 SD=6.12) with statistical significance at 0.05 (P-value
< 0.001) Therefore, it is suggested that home visiting activities for the elderly should be organized in order to promote the quality of life of the elderly to have good oral health.

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2565). ข้อมูลเพื่อตอบสนอง Service Plan สาขาสุขภาพช่องปาก. สืบค้นเมื่อ

มิถุนายน 2565. จาก http://hdcservice.moph.go.th/hdc.

ชาญชัย ลิ้มธงเจริญ. (2562). แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวกับการเยี่ยมดูแลผู้ป่วยที่บ้าน. ศรีนครินทร์เวชสาร,

(5), 496-502.

มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2563). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2562. นครปฐม:

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

สุภาพร มาลีวรรณ์, สมเสาวนุช จมูตรี และอภิญญา วงศ์พิริยโยธา. (2559). ผลของโปรแกรมการเยี่ยมบ้าน

ต่อความเชื่อต้านสุขภาพการปฏิบัติตัวและค่าความตันโลหิตของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงในชุมชน.

วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 34(4), 63-72.

สำนักบริหารการสาธารณสุข. (2557). ทีมหมอครอบครัว (Family Care Team). กรุงเทพฯ: ชุมชนสหกรณ์

การเกษตรแห่งประเทศไทย

โสภาพรรณ อินต๊ะเผือก และวรวรรณ์ ทิพย์วาศีรมย์. (2562). การเยี่ยมบ้าน: พยาบาลชุมชนไทยแลนด์ 4.0.

วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 42(4), 140-148.

ชยุตรา แปงสนิท. (2565). ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลอนามัยช่องปาก โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองในผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรงพยาบาลเสริมงาม จังหวัดลำปาง (ปริญญาโท), มหาวิทยาลัยพะเยา, มหาวิทยาลัยพะเยา.

นฤมล จันทร์สุข ยุทธนา พินิจกิจ และชวนนท์ จันทร์สุข. (2562). ผลของการใช้รูปแบบการดูแลสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ โรคเบาหวานชนิดที่ 2. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธาน, 27(1), 30-39.

วุฒิพงศ์ ธนะขว้าง และทัศไนย วงค์ปินตา. (2564). ประสิทธิผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจให้ผู้ดูแลสุขภาพช่องปาก ของผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน. วารสารสาธารณสุขล้านนา, 17(1), 64-75.

Downloads

Published

2024-04-30

How to Cite

สอดสี อ. (2024). ประสิทธิผลของการเยี่ยมบ้านเพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากต่อพฤติกรรมดูแลสุขภาพช่องปากและปริมาณคราบจุลินทรีย์บนตัวฟันของผู้สูงอายุ. Journal of Public Health and Innovation, 4(1), 88–98. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/J-PHIN/article/view/270054