รูปแบบการบริโภคอาหารมื้อหลักของนักศึกษาระดับปริญญาตรีวิทยาลัยสาธารณสุขแห่งหนึ่ง
คำสำคัญ:
รูปแบบการบริโภคอาหารมื้อหลัก, ความรอบรู้ด้านโภชนาการของวัยรุ่น, นักศึกษาระดับปริญญาตรีบทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านโภชนาการกับรูปแบบการบริโภคอาหารมื้อหลักของนักศึกษาระดับปริญญาตรีวิทยาลัยสาธารณสุขแห่งหนึ่ง กลุ่มตัวอย่างจำนวน 273 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ หาความสัมพันธ์ไคสแควร์ ผลการศึกษา พบว่า รูปแบบการบริโภคอาหารมื้อหลักของนักศึกษาส่วนใหญ่ (ร้อยละ 88.6) อยู่ในกลุ่มไม่เหมาะสม ความรอบรู้ทางโภชนาการของนักศึกษา อยู่ในระดับดี มากที่สุด (ร้อยละ 45.4) ผลการวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความรอบรู้ด้านโภชนาการกับรูปแบบการบริโภคอาหาร มื้อหลัก พบว่า ระดับความรอบรู้ด้านทักษะการสื่อสารด้านโภชนาการ ด้านทักษะการตัดสินใจการเลือกปฏิบัติด้านโภชนาการ และด้านทักษะการจัดการตนเองด้านโภชนาการ มีความสัมพันธ์กับรูปแบบการบริโภคอาหารมื้อหลัก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน และจัดโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพให้เหมาะสมกับนักศึกษาต่อไป
References
กระทรวงสาธารณสุข, กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). คู่มือการปฏิบัติมาตรการ Sandbox Safety Zone in School เปิดเรียนมั่นใจ ปลอดภัยไร้โควิด-19 ในสถานศึกษา. สืบค้นวันที่ 7 กันยายน 2566, จาก: https://hp.anamai.moph.go.th/th/teenager-emag/download/?did=207341&id=82880&reload=
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข(พิมพ์ครั้งที่3). (2556). ความฉลาดทางสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย (จำกัด).
กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2558). การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารสำหรับวัยทำงาน: นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.
ฉัตรภา หัตถโกศล. (2555). สุขภาพดีไม่ต้องอด.. แค่ลด หวาน มัน เค็ม. สืบค้นวันที่ 6 กันยายน 2566, จาก: https://med.mahidol.ac.th/rama_hospital/th/services/knowledge/11132020-1637
วิทยาลัยพยาบาลัยบรมราชชนนี ชลบุรี. (2560). เกี่ยวกับสถาบันพระบรมราชชนก . สืบค้นวันที่ 6 กันยายน 2566. จาก : http://www.bnc.ac.th/eng/index.php/about
ปนันดา จันทร์สุกรี, นิตินัย รุ่งจินดารัตน์. (2558). การวิเคราะห์พฤติกรรมเพื่อสุขภาพของวัยรุ่นตอนปลายโดยใช้ตัวชี้วัดทางปัญญาสังคม: กรณีศึกษานักศึกษามหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพมหานคร: เอ็น เอส พีเซอร์วิสเซ็นเตอร์.
ปิยะนุช จิตตนูนท์, สุมาลี วังธนากร. (2561). สมดุลชีวิตนักศึกษามหาวิทยาลัยในภาคใต้. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 17 (2), 103-133. สืบค้น 6 กันยายน 2566, จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/nur-psu/article/download/163916/118725/455154
ฝ่ายโภชนาการ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2560). โภชนาการสำหรับวัยรุ่น. สืบค้นวันที่ 6 กันยายน 2566. จาก: https://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/admin/article_files/1287_1.pdf
พรภัทรา แสนเหลา, เบญจพร สืบทอง, ภิญญารัตน์ เปลี่ยนจันทึก, ปิยะกุล ศิริ, ศุภลักษณ์ โคบำรุง, สิรินยา ผลไธสง และคณะ. (7 – 8 กรกฎาคม 2565). ความสัมพันธ์ด้านความรอบรู้สุขภาพกับพฤติกรรมสุขภาพหลัก3อ.2ส.ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. วิจัยสร้าง Innovation and Technology เพื่อรองรับสังคมไทยสู่ยุค Digital World. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 14, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
รุ่งนภา ป้องเกียรติชัย, เรวดี จงสุวัฒน์, ดวงพร แก้วศิริ, วงเดือน ปั้นดี. (2541). การศึกษาการได้รับสารอาหารของนักเรียนมัธยมปลายในกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถาม ความถี่ของอาหารบริโภคกึ่งปริมาณ[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหิดล.
วิมล โรมา, สายชล คล้อยเอี่ยม. (2562). รายงานการสำรวจความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชนไทย อายุ 15 ปี ขึ้นไป พ.ศ.2562. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
ศวิตา ศรีสวัสดิ์, สุวลี โล่วิรกรณ์. (2562). การรับรู้และการบริโภคอาหารเช้าของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ระดับปริญญาตรีกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, สืบค้น 6 กันยายน 2566, 12(4), 88-96. จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/kkujphr/article/view/187948/156837
ศิวาพร ยอดทรงตระกูล. (2562). “อาจารย์: ตัวชี้วัดสำคัญในการประกันคุณภาพการศึกษา”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 17 (2), 22-32. สืบค้นวันที่ 6 กันยายน 2566. จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/suedujournal/article/view/110876/160695
ศิริวรรณ ชอบธรรมสกุล. (2562). ความสัมพันธ์ของความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมป้องกันโรคอ้วนของนักศึกษาปริญญาตรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 8(1), สืบค้น 7 กันยายน 2566, จาก https://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=3335182
สิริไพศาล ยิ้มประเสริฐ. (2560). พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา. วารสารราชพฤกษ์. 15(1). 33-41. สืบค้น 6 กันยายน 2566, จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Ratchaphruekjournal/article/view/90783/71262
Daniel ACQG, Veiga EV. (2013). Factors that interfere the medication compliance in hypertensive patients. Einstein (Sao Paulo) [อินเทอร์เน็ต].;11(3):331–7. Available at: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4878592/
Nutbeam D. (2000). Health literacy as a public health goal: a challenge for contemporary health education and communicaation strategies into health 21th century. Health Promotion International: Printed in Great Britain.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดสุพรรณบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความหรือข้อคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารศาสตร์สาธารณสุขและนวัตกรรม ที่เป็นวรรณกรรมของผู้เขียน บรรณาธิการ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
2. บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ วารสารศาสตร์สาธารณสุขและนวัตกรรม