การพัฒนาโปรแกรมการบริหารนิ้วมือร่วมกับดนตรีบำบัด สำหรับเพิ่มความจำเหตุการณ์ในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่อง

ผู้แต่ง

  • กัลยา มั่นล้วน
  • สิริกรานต์ จันทเปรมจิตต์
  • ยุทธนา จันทะขิน

คำสำคัญ:

ภาวะการรู้คิดบกพร่อง, ความจำเหตุการณ์, การบริหารนิ้วมือ, ดนตรีบำบัด

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมการบริหารนิ้วมือร่วมกับดนตรีบำบัด และเพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการบริหารนิ้วมือร่วมกับดนตรีบำบัดสำหรับเพิ่มความจำเหตุการณ์ในผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่อง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่อง จำนวน 60 ราย สุ่มเข้ากลุ่มด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับโปรแกรมการฟื้นฟูความจำเหตุการณ์ (กลุ่มควบคุม) กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการบริหารนิ้วมือร่วมกับดนตรีบำบัด (กลุ่มทดลองที่ 1) และกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมดนตรีบำบัด (กลุ่มทดลองที่ 2) เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย โปรแกรมการบริหารนิ้วมือร่วมกับดนตรีบำบัด โปรแกรมดนตรีบำบัด และกิจกรรมแบบทดสอบความจำเหตุการณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ chi – square, dependent     t-test และ one - way ANOVA

ผลการศึกษา พบว่า ได้โปรแกรมการบริหารนิ้วมือร่วมกับดนตรีบำบัด ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ 1) การดื่มน้ำ 2) การกระตุ้นนิ้วโป้ง 3) การบริหารนิ้วมือ และ 4) การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และ พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองที่ 1 มีคะแนนความจำเหตุการณ์มากกว่ากลุ่มทดลองที่ 2 และกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะเดียวกัน กลุ่มทดลองที่ 2 มีคะแนนความจำเหตุการณ์ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม สรุปได้ว่า โปรแกรมการบริหารนิ้วมือร่วมกับดนตรีบำบัด สามารถเพิ่มความจำเหตุการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Downloads

Download data is not yet available.

References

United Nations, Department of Economic and Social Affairs, Population Division. World population prospects: The 2015 revision: key findings and advance tables. United Nations : New York, 2015.

Rattanaraj P, Sarakan K, Kotta P. Potential of elderly caregivers associated with Isan cultural context. JRTAN. 2020;21(1):147-56.

Zhan Y, Ma J, Xu K, Ding Y, Cui Y, Yang Z, Liu Y. Impaired episodic memory network in subjects at high risk for Alzheimer's disease. In : 38th Annual International Conference of the IEEE Engineering in Medicine and Biology Society (EMBC) 2016 Aug 16-20, Orlando, FL. USA; 2016. P. 4017-20.

Dere E, Pause BM, Pietrowsky R. Emotion and episodic memory in neuropsychiatric disorders. Behav Brain Res. 2010 Dec 31;215(2):162-71.

Stark SM, Stevenson R, Wu C, Rutledge S, Stark CE. Stability of age-related deficits in the mnemonic similarity task across task variations. Behav Neurosci. 2015 Jun;129(3):257-68

Stark SM, Yassa MA, Lacy JW, Stark CE. A task to assess behavioral pattern separation (BPS) in humans: Data from healthy aging and mild cognitive impairment. Neuropsychologia. 2013 Oct;51(12):2442-9.

Davidson PS, Vidjen P, Trincao-Batra S, Collin CA. Older adults’ lure discrimination difficulties on the mnemonic similarity task are significantly correlated with their visual perception. J. Gerontol B Psychol. Sci. Soc. Sci. 2019;74(8):1298-307.

Kontaxopoulou D, Fragkiadaki S, Beratis IN, Pavlou D, Yannis G, Papanicolaou AC, Economou A, Papageorgiou SG, et al. Incidental and intentional memory performance in depression and amnestic mild cognitive impairment. Neuropsychologia. 2016;43(5):675-81.

Peterson RC, Stevens JC, Ganguli M, Tangalos EG, Cummings JL, Dekosky ST. Practice parameters: early detection of dementia: Mild cognitive impairment (an evidence-based review). Report of the Quality Standards Subcommittee of the American Academy of Neurology. Neurology. 2001 May 8;56(9):1133-42.

Gao Y, Huang C, Zhao K, Ma L, Qiu X, Zhang L, Xiu Y, Chen L, Lu W, Huang C, Tang Y, et al. Retracted: Depression as a risk factor for dementia and mild cognitive impairment: a meta‐analysis of longitudinal studies. Int J Geriatr Psychiatry. 2013 May;28(5):441-9.

Langa KM, Levine DA. The diagnosis and management of mild cognitive impairment: a clinical review. JAMA. 2014 Dec 17;312(23):2551-61.

Ward A, Arrighi HM, Michels S, Cedarbaum JM. Mild cognitive impairment: disparity of incidence and prevalence estimates. Alzheimers Dement. 2012 Jan;8(1):14-21.

สุทธินันท์ สุบินดี, วรรณภา ศรีธัญรัตน์. ภาวการณ์รู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในผู้สูงอายุเจ็บป่วยเรื้อรังที่มารับบริการคลินิกโรคเรื้อรังของหน่วยบริการปฐมภูมิแห่งหนึ่งในจังหวัดขอนแก่น. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ. 2557;37(1);43-50.

Farias ST, Mungas D, Reed BR, Harvey D, DeCarli C. Progression of mild cognitive impairment to dementia in clinic-vs community-based cohorts. Arch Neurol. 2009;66(9):1151-7.

Boissonneault GA. MCI and dementia: diagnosis and treatment. JAAPA 2010;23(1):18-21.

ทัศนีย์ ต้นติฤทิธิศักดิ์, บรรณาธิการ. แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม. กรุงเทพมหานคร: สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์; 2557

ปิ่นมณี สุวรรณโมสิ, จิราพร เกศพิชญวัฒนา. ผลของโปรแกรมกระตุ้นการรู้คิดต่อความจำของผู้สูงอายุในชุมชนที่มีการรู้คิดบกพร่อง. วารสารพยาบาลตำรวจ. 2559;8(2):45-57.

กรวรรณ ยอดไม้. บทบาทครอบครัวกับการดูแลผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อมในชุมชน. วารสารพยาบาลสาธารณสุข. 2560;11(1):189-204.

ชิระซะวะ ทะคุจิ. บริหารนิ้ว บริหารสมองต้านภัยอัลไซเมอร์. ฉวีวงศ์ อัศวเสนา, ผู้แปล. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์สุขภาพ; 2557.

Propper RE, McGraw SE, Brunye TT, Weiss M. Getting a grip on memory: Unilateral hand clenching alters episodic recall. PloS one. 2013;8(4):e62474.

Fukui H, Toyoshima K. Music facilitate the neurogenesis, regeneration and repair of neurons.

Med Hypothesis. 2008;71(5):765 – 9.

Shimizu N, Umemura T, Matsunaga M, Hirai T. Effects of movement music therapy with a percussion instrument on physical and frontal lobe function in older adults with mild cognitive impairment: a randomized controlled trial. Aging Ment Health. 2018;22(12):1614-26.

Herring MP, Puetz TW, O’Connor PJ, Dishman RK. Effect of exercise training on depressive symptoms among patients with a chronic illness: a systematic review and meta-analysis of randomized controlled trials. Arch Intern Med. 2012;172(2):101-11

Li CH, Liu CK, Yang YH, Chou MC, Chen CH, Lai CL. Adjunct effect of music therapy on cognition in Alzheimer’s disease in Taiwan: a pilot study. Neuropsychiatr Dis Treat. 2015;11:291.

Dennison PE, Dennison GE. Brain gym: aprendizaje de todo el cerebro. Barcelona: Ediciones Robinbook; 1997.

Johnsen EL, Tranel D, Lutgendorf S, Adolphs R. A neuroanatomical dissociation for emotion induced by music. Int J Psychophysiol. 2009;72(1):24-33.

เดชา วรรณพาหุล. การพัฒนาโปรแกรมฝึกบริหารสมองสำหรับเพิ่มความจำระยะสั้นในผู้สูงอายุ: การศึกษาศักย์ไฟฟ้าสมองสัมพันธ์กับเหตุการณ์. วารสารราชนครินทร์ 2561;13(30).

Bennett IJ, Stark SM, Stark CE. Recognition memory dysfunction relates to hippocampal subfield volume: a study of cognitively Normal and mildly impaired older adults. J Gerontol B. 2019;74(7):1132-41.

Chawla MK, Guzowski JF, Ramirez‐Amaya V, Lipa P, Hoffman KL, Marriott LK, et al. Sparse, environmentally selective expression of Arc RNA in the upper blade of the rodent fascia dentata by brief spatial experience. Hippocampus. 2005;15(5):579-86.

จารุวรรณ ก้านศรี, ดลใจ จองพานิช, นภัทร เตี๋ยอนุกูล, ภัทรวดี ศรีนวล, รังสิมันต์ สุนทรไชยา. ผลของโปรแกรมบริหารสมองต่อการเพิ่มความจำในผู้สูงอายุที่มีความจำพร่องเล็กน้อย. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2560;27(3):176-87.

จุรีภรณ์ เจริญพงศ์. ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพและการบริหารสมองต่อ สมรรถภาพสมองของผู้สูงอายุในชุมชน อ.บ้านนาสาร จ.สุราษฎร์ธานี. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุข และ การศึกษา 2561;19(3):134-44. (Epub)

Cancela JM, Suárez MH, Vasconcelos J, Lima A, Ayán C, et al. Efficacy of brain gym training on the cognitive performance and fitness level of active older adults: a preliminary study. J Aging Phys Act. 2015;23(4):653-8.

บุษกร บิณฑสันต์. ดนตรีบำบัด. กรุงเทพมหานคร: วีพริ้นท์; 2534.

Pannoi P, Hemrungrojn S. The effect of music therapy on activity to reduce anxiety in mild cognitive impairment. Chulalongkorn Medical Bulletin. 2019;1(4):349-57.

ภูริพงษ์ เจริญแพทย์, ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์. ผลของโปรแกรมการใช้ดนตรีบำบัดร่วมกับการสนับสนุนทาง สังคมต่อภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคพาร์กินสัน. วารสารสภาการพยาบาล. 2559;31(1):44-55.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30