ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคชิคุนกุนยาของประชาชนใน ตำบลบางปู อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ

Authors

  • Tuangporn Katanyutanon คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
  • Sirinapa Phakdee
  • Phimphimon Pudsaban
  • โศภิดา บุญมา
  • Fatmee Baheh
  • Tatiya Kaewkrajok
  • Nantawat Phadpao
  • Chaiwat Chuenchom2

Keywords:

Disease prevention behavior, chikungunya disease, predisposing factors, reinforcing factors, enabling factors

Abstract

The objectives of this cross-sectional descriptive research were to determine the behavior of people towards chikungunya disease prevention and to analyse the relationship of predisposing, reinforcing, and enabling factors of behavior related to chikungunya disease prevention. The sample size was 306 people in Bangpu Subdistrict, Mueang Samut Prakan District, Samut Prakan Province and the participants were selected by using systematic random sampling. The tools used for data collection were questionnaires where the participants answered themselves. The questionnaire consisted of personal information, predisposing factors, reinforcing factors, enabling factors and attitude towards chikungunya disease prevention. The study was conducted between August and December 2019. We analysed the relationship between predisposing factors, reinforcing factors, enabling factors and attitude towards chikungunya disease prevention by using Spearman’s rank correlation analysis.

The results showed that the attitude towards chikungunya disease prevention of the people was positive and at a high level (=3.03, SD=0.54). The predisposing factors and the reinforcing factors had no significant correlation with the attitude to chikungunya disease prevention. But the enabling factors and in each aspect : the sufficiency of resources for preventing chikungunya disease, and skills in using resources to prevent chikungunya disease had positive correlation with the attitude at a significance level of 0.05 (r=0.336, 0.266, 0.324, p-value =0.000). The results of this research suggest that local authorities in the area should provide resources for preventing chikungunya disease, and help developing skills in using resources to prevent chikungunya disease.

References

ดำรงพันธุ์ ทองวัฒน์. ยุงที่สำคัญทางการแพทย์ของประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. พิษณุโลก : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2560.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรมควบคุมโรค. แนวทางการจัดการเรียนรู้โรคติดต่อนำโดยยุงภายใต้แนวคิดความรอบรู้ด้านสุขภาพและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. นนทบุรี: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข; 2563.

กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค. โรคไข้ปวดข้อยุงลาย. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2552.

กรมควบคุมโรค กองโรคติดต่อนำโดยแมลง. รายงานประจำปี 2562 กองโรคติดต่อนำโดยแมลง. นนทบุรี: กองโรคติดต่อนำโดยแมลง; 2562.

กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง. รายงานประจำปี 2561 สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง. กรุงเทพมหานคร: อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2561.

พัชนี นัครา, สุวิช ธรรมปาโล, สุมาศ ลอยเมฆ. ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อชิคุนกุนยาในหมู่บ้านที่มีการระบาดซ้ำอำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส พ.ศ. 2557 – 2558. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 ขอนแก่น. 2562 ;26(3):48-58.

กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กองระบาดวิทยา. โรคที่เกิดในช่วงฤดูฝน พ.ศ.2563. [อินเทอร์เนต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 21 กรกฎาคม 2563]. เข้าถึงจาก: https://ddc.moph.go.th/uploads/publish/1032320200721092330.pdf

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบลบางปู. รายงานผู้ป่วยโรคชิกุนคุนยา; 2562.

นรลักขณ์ เอื้อกิจ, ลัดดาวัลย์ เพ็ญศรี. การประยุกต์ใช้แนวคิด PRECEDE MODEL ในการสร้างเสริมสุขภาพ. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย. 2562;12(1):38-48.

Yamane T. Statistics : an introduction analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row Publications; 1988.

Bloom BS, Hastings JT. Handbook on formative and summative evaluation of student learning. New York: McGraw Hill; 1971.

วิเชียร เกตุสิงห์. ค่าเฉลี่ยกับการแปลความหมาย : เรื่องง่ายๆบางครั้งก็พลาดได้. ข่าวสารการวิจัยศึกษา. 2538; 1(3): 8-11.

Hinkle DE, William W, Stephen GJ. Applied statistics for the behaviors sciences. 4thed. NewYork: Houghton Mifflin; 1981.

จิระภา ศิริวัฒนเมธานนท์, สุพัตรา บัวที. ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคไข้ปวดข้อยุงลายของนักเรียนชั้นประถมศึกษา. วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 2555;30(1):63-70.

ดลนภา หงษ์ทอง, อรัญญา นามวงศ์, ประดิษฐิ์ ชาลีเครือ, สิริสุดา เตชะวิเศษ, สุรางคณา ไชยรินคำ, พรพิมล อรุณรุ่งโรจน์. ความรู้ การรับรู้ และพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้ปวดข้อยุงลายของนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา. พะเยา: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา สถาบันพระบรมราชชนก; 2552.

ยง ภู่วรวรรณ. การระบาดไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2561 ถึง 2562. วารสารกุมารเวชศาสตร์. 2562;58(2):65-7.

เทศบาลตำบลบางปู จังหวัดสมุทรปราการ. การเตรียมความพร้อมเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก และไข้หวัดใหญ่ ปี 2562. [อินเทอร์เนต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 20กรกฎาคม 2562]. เข้าถึงจาก: http://www.bangpoocity.com/main/index.php?option=com_content&view=article&id=2880&Itemid=70.

อลงกฎ ดอนละ. ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการปฏิบัติตนในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนอำเภอสระใคร จังหวัดหนองคาย. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10. 2562;17(1):43-55.

หทัยรัตน์ ตัลยารักษ์, จุฑาทิพย์ ช่วยคล้าย. ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของประชาชนในตำบลเคร็ง อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช. ใน: เอกสารการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่; วันที่ 12-13 กรกฎาคม 2562. สงขลา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่; 2562. น. 1505-14.

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กองสุขศึกษา. กลยุทธ์การเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ. นนทบุรี: กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ; 2561.

สุรินธร กลัมพากร. การประยุกต์ใช้แนวคิดและทฤษฎีในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชน ใน: อาภาพร เหล่าวัฒนา และคณะ. การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในชุมชน : การประยุกต์แนวคิดสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: เอ็นเอ็นคอมพิวออฟเซท; 2561. น. 250

บุรฉัตร จันทร์แดง, เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร, สัญญา เคณาภูมิ. ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม.วารสารวิชาการธรรมทรรศน์. 2562;19(4):235-44.

ประภาเพ็ญ สุวรรณ. ทัศนคติ: การวัดการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์; 2526.

สุมิตรา ชูแก้ว, ยุพาพิน ศิริโพธ์งาม, วรรณภา ประไพพานิช. ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตามการรับรู้ของพยาบาลในการช่วยเหลือและสร้างเสริมสุขภาพของญาติในการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง. รามาธิบดีพยาบาลสาร. 2555;18(2):249-58.

ภาคภูมิ อุณหเลขจิตร, เจริญชัย อึ๊งเจริญสุข, เจนจิรา นักฆ้อง, อมิตา เหมาเพ็ชร, ณัฐสุดา ฟักเจริญ, ปวีณา วรวงษ์, และคณะ. พฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนชุมชนคลองถ้ำตะบัน ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี. ใน: เอกสารการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 6 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 1 หัวข้อ "การพัฒนาสู่สังคมอัจฉริยะ"มหาวิทยาลัยปทุมธานี; วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2562. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยปทุมธานี; 2562. น. 105-12.

ภานุวัฒน์ พรหมสังคหะ. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของประชาชนในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 2562; 1(1):23-31.

รัชฎากรณ์ มีคุณ, กรรณิกา สาลีอาจ, ชลการ ทรงศรี. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของประชาชนบ้านหนองอีเบ้า ตำบลขอนยูง อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี. วารสารการพยาบาล สุขภาพและการศึกษา. 2562;2(2):26-34.

ภาวิณี แพงสุข, เอื้อจิต สุขพูล, ปิยนุช ภิญโย. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของประชาชนในชุมชน. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์. 2563;40(1):71-83.

อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ. แรงสนับสนุนทางสังคม: ปัจจัยสำคัญในการดูแลผู้ที่เป็นเบาหวาน. รามาธิบดีพยาบาลสาร. 2553;16(2):309-23.

วัชระ กันทะโย, ณรงค ณ เชียงใหม่, วราภรณ์ ศิริสว่าง. ปจจัยที่มีความสัมพันธ์ตอการปองกันและควบคุมโรคไขเลือดออกของประชาชน ในเขตตำบลทาเดื่อ อำเภอดอยเตา. พิฆเนศวรสาร. 2556;9(2):63-79.

Downloads

Published

2021-06-30

How to Cite

1.
Katanyutanon T, Phakdee S, Pudsaban P, บุญมา โ, Baheh F, Kaewkrajok T, Phadpao N, Chuenchom2 C. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรคชิคุนกุนยาของประชาชนใน ตำบลบางปู อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ. HCUJOURNAL [Internet]. 2021 Jun. 30 [cited 2024 Mar. 29];25(1):41-52. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/246238

Issue

Section

Research article