รู้เท่าทัน ITA: เครื่องมือบริหารความเสี่ยงด้านการทุจริตขององค์กรภาครัฐไทย

ผู้แต่ง

  • กีรติกาญจน์ เจตน์ธนานันท์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
  • รษิกา เอี่ยมเกิด สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ธีรพงษ์ บุญรักษา สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล

คำสำคัญ:

ITA, คุณธรรม, ความโปร่งใส, องค์กรภาครัฐ, การทุจริต

บทคัดย่อ

       ปัญหาการทุจริตถือเป็นปัญหาระดับชาติ ซึ่งประเทศไทยได้บรรจุการแก้ไขปัญหาการทุจริตไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ บทความนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอแนวทางการบริหารความเสี่ยงด้านการทุจริตของประเทศไทย โดยเน้นการใช้ ITA เป็นเครื่องมือในการประเมิน การรับรู้คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินการขององค์กรภาครัฐ ส่วนประกอบของ ITA เกณฑ์การประเมิน การประมวลผล และระดับผลการประเมินของ ITA นอกจากนั้นบทความนี้ได้วิเคราะห์ถึงคุณค่าและข้อจำกัดของ ITA ในปัจจุบัน เพื่อให้รู้เท่าทันประโยชน์และข้อจำกัดของเครื่องมือ และปัจจัยที่อาจมีอิทธิพลต่อการประเมิน รวมถึงให้ข้อเสนอแนะในการใช้ ITA อย่างรู้เท่าทัน โดยการเสริมสร้างผู้ประเมิน เครื่องมือประเมิน องค์กรและสังคมที่รู้เท่าทันความเสี่ยงต่อการทุจริต ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักที่มีอิทธิพลต่อการประเมินผลที่โปร่งใสและสุจริต

References

คณะกรรมาธิการกิจการองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ วุฒิสภา. (2566). รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง “ทำอย่างไรให้การประเมิน ITA น่าเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับของเจ้าหน้าที่รัฐและประชาชน”. สืบค้น 15 มีนาคม 2566, จาก http://www.stopcorruption.moph.go.th/index.php/main/p_detail/page/1167

จุฑามน สิทธิผลวนิชกุล. (2561). แนวทางการบริหารความเสี่ยงองค์กร COSO Enterprise Risk Management 2017. วารสารวิชาชีพบัญชี, 14(42), 111-124.

ชนิดา จิตตรุทธะ. (2560). วัฒนธรรมองค์การ: ปัจจัยสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พนิดา จงสุขสมสกุล. (2564). รู้เท่าทันการสื่อสารโน้มน้าวใจ. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พนม คลี่ฉายา, อภิภู กิติกำธร, จินต์สิรี ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา, วรรษยุต คงจันทร์ล, จุติพร ปริญโญกุล, มธุชา ศิริวรรณ, ยศพล ชุติปัญญะบุตร, อรุโณทัย วรรณถาวร, ภคมินทร์ เศวตพัฒนโยธิน, ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา, ธนพล เชาวน์วานิชย์ และ กมลรัตน์ กิจรุ่งไพศาล. (2565). นิเทศศาสตร์กระบวนทัศน์ทางเลือกใหม่และวิธีวิทยาการวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พาสนา จุลรัตน์. (2564). จิตวิทยาการรู้คิด. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สหประชาชาติประเทศไทย. (2566). เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 16 สันติภาพ ยุติธรรม และสถาบันที่เข้มแข็ง. สืบค้น 15 พฤษภาคม 2566, จาก https://thailand.un.org/th/sdgs/16

สายน้ำผึ้ง รัตนงาม, พระมหาประกาศิต ฐิติปสิทธิกร, พระปลัดประพจน์ อยู่สำราญ และพระเจริญพงษ์ วิชัย. (2565). การสื่อสารเพื่อพัฒนาสังคมในยุคปัญญาประดิษฐ์. วารสารวนัมฎองแหรกพุทธศาสตรปริทรรศน์, 9(1), 179-189.

สิรินทร พิบูลภานุวัธน์, นันทิยา ดวงภุมเมศ และ ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์. (2563). สูงวัยไม่เสพสื่ออย่างสุ่มเสี่ยง: การสร้างนักสื่อสารสุขภาวะสูงอายุที่รู้เท่าทันสื่อ. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร, 15(3), 174-191.

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. (2565). สรุปคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perception Index : CPI 2021) ประจำปี พ.ศ. 2564. นนทบุรี: ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต.

สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2566). คู่มือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566: เติบโตสู่เป้าหมาย. สืบค้น 15 พฤษภาคม 2566, จาก https://itas.nacc.go.th/home/detailnews/3002

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2566). ผลจัดอันดับดัชนีการรับรู้การทุจริต CPI 2022. สืบค้น 15 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.opdc.go.th/content/ODAzNg

อัญญา ขันธวิทย์. (2561). Value Creation and Enhancement for Listed Companies with the New COSO 2017 ERM. สืบค้น 6 มิถุนายน 2566, จาก https://www.set.or.th/th/news/download/files/2561/20180314_COSO_2017_ERM.pdf

อัมพร ธำรงลักษณ์. (2551). องค์การ: ทฤษฏี โครงสร้าง และการออกแบบ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

COSO. (2013). Internal control- integrated framework. Retrieved 6 June 2023, from https:// www.coso.org/ Documents/990025P-Executive-Summary-final- may20.pdf

COSO. (2017). Enterprise risk management intergrating with strategy and performance framework. Retrieved 6 June 2023, from https://www.coso.org/Documents/2017-COSO-ERM-Integrating-with-Strategy-and-Performance-Executive-Summary.pdf

Gjerdrum, D., Gallagher, A. and Peter, M. (2011). The new international standard on the practice of risk management–a comparison of ISO 31000: 2009 and the COSO ERM framework. Risk Management, 31, 8–13.

Martinez, E., Beaulieu, M., Gibbons, R., Pronovost, and Wang, T. (2015). Organizational culture and performance. American Economic Review: Paper&Proceedings, 105(5), 331-335.

National Commission on Fraudulent Financial Reporting. (1987). Reporting of the national commission on fraudulent financial reporting. Retrived from https://www.coso.org/Documents/NCFFR.pdf

Pierce, E. M. & Goldstein, J. (2018). ERM and strategic planning: A change in paradigm. International Journal of Disclosure and Governance, 15(1), 51–59.

Sandholtz, W., & William K. (2000). Accounting for corruption: Economic, Democracy, and trade. International Studies Quarterly, 44(1), 31-50.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-15