การพัฒนาโมเดลการตลาดเมืองไมซ์ซิตี้สู่ความสำเร็จในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เมืองไมซ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • สุรัชสานุ์ ทองมี นักศึกษาปริญญาเอก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • เกิดศิริ เจริญวิศาล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • พิทักษ์ ศิริวงศ์ รองศาสตราจารย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

อุตสาหกรรมไมซ์, เมืองไมซ์ซิตี้, การตลาดสำหรับแหล่งท่องเที่ยว

บทคัดย่อ

         การวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์เรื่องการพัฒนาโมเดลการตลาดเมืองไมซ์ซิตี้สู่ความสำเร็จในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เมืองไมซ์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการณ์ความพร้อมด้านการตลาดสู่ความสำเร็จของเมืองไมซ์ซิตี้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย แนวโน้มการทำการตลาดเมืองไมซ์ซิตี้ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เมืองไมซ์ซิตี้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในอนาคต และแนวโน้มความสำเร็จที่เกิดจากการทำการตลาดเมืองไมซ์ซิตี้ที่จะนำมาซึ่งความสำเร็จในการเป็นเมืองไมซ์ซิตี้ของประเทศไทยในอนาคต โดยใช้เทคนิค EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญ 17 คน คัดเลือกจากผู้ที่เกี่ยวข้องโดยตรงในเชิงนโยบายการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไมซ์ คณะกรรมการไมซ์ประจำจังหวัดเมืองไมซ์ซิตี้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้จัดงานไมซ์ และนักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมไมซ์ โดยนำผลการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก (EDFR รอบ1) เป็นแนวโน้มนำไปสร้างแบบสอบถาม (EDFR รอบ 2) แล้วนำแนวโน้มจากผู้ให้ข้อมูลหลักแต่ละข้อ ที่มีความเป็นไปได้ในระดับมากและมากที่สุดมาสรุปเป็นผลการศึกษา จากการศึกษาพบว่าสภาพการณ์ความพร้อมด้านการตลาดเมืองไมซ์ซิตี้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้น ประกอบไปด้วย 3 หัวข้อหลัก 11 ประเด็นย่อย แนวโน้มการทำการตลาดที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการขับเคลื่อนเมืองไมซ์ซิตี้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในอนาคต ประกอบไปด้วย 14 หัวข้อหลักและ 49 ประเด็นย่อย และแนวโน้มความสำเร็จที่เกิดจากการทำการตลาดเมืองไมซ์ซิตี้ที่จะนำมาซึ่งความสำเร็จในการเป็นเมืองไมซ์ซิตี้ของประเทศไทยในอนาคต ประกอบไปด้วย 11 หัวข้อหลัก

References

กันตภพ บัวทอง. (2554). กลยุทธ์การพัฒนาตลาด MICE ของจังหวัดชายแดนริมแม่น้ำโขง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

เกิดศิริ เจริญวิศาล. (2552). รูปแบบส่วนประสมทางการตลาดที่เหมาะสมของสถานที่จัดงานสำหรับอุตสาหกรรมไมซ์ในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่.

จุมพล พูลภัทรชีวิน. (2530). เทคนิคการวิจัยแบบ EDFR. วารสารวิจัยสังคมศาสตร์, 3(1), 34-57.

จุมพล พูลภัทรชีวิน. (2559). การวิจัยเชิงอนาคต (Future Research). เอกสารประกอบการบรรยาย: กรุงเทพฯ, ประเทศไทย.

ชัยธวัช เนียมศิริ. (2560). การพัฒนาศักยภาพเชิงบูรณาการของจังหวัดขอนแก่นสู่ความเป็นเมืองไมซ์. สืบค้นจาก http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/PDF/8376s/8376 นายชัยธวัช เนียมศิริ.pdf

ดุษฎี ช่วยสุขและ ดลฤทัย โกวรรธนะกุล. (2558). การพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์ในจังหวัดขอนแก่นเพื่อรองรับการเป็นไมซ์ซิตี้ของประเทศไทย. วารสารบริการและการท่องเที่ยว, 10(1), 1-23.

พินิตา แก้วจิตคงทองและ เยาวลักษณ์ ชาวบ้านโพธิ์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการการจัดประชุมและสัมมนา (MICE) ของธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ทในจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 13(2), 35-46.

สยามรัฐ. (2563). ทีเส็บขยายฐาน 2 เมืองไมซ์ซิตี้/พัฒนาศักยภาพสู่ระดับนานาชาติ. สืบค้นจาก https://siamrath.co.th/n/177687

สุรัชสานุ์ ทองมีและประสพชัย พสุนนท์. (2563). การรับรู้ของหน่วยงานภาครัฐของจังหวัดนครราชสีมาที่มีต่ออุตสาหกรรมไมซ์และความสำคัญของปัจจัยตามเกณฑ์การประเมินเมืองไมซ์ (MICE city) ของสำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (สสปน.). วารสารศิลปศาสตร์ปริทรรศน์, 15(2), 105-118.

เสรี วงษ์มณฑา และวิชยานันท์ พ่อค้า. (2560). แนวทางการเสริมสร้างศักยภาพของประเทศไทยให้เป็นเมืองเป้าหมายของไมซ์ (MICE). วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 39(1), 96-112.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12. สืบค้นจาก https://www.nesdc.go.th/main.php?filename=develop_issue

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). ร่างกรอบแผนพัฒนาภาค พ.ศ. 2566-2570. สืบค้นจาก https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=11684&filename=index

สำนักงานท่องเที่ยวกีฬาจังหวัดเชียงใหม่. (2564). ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมและขับเคลื่อนอุตสาหกรรม MICE จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1/2564. สืบค้นจาก https://chiangmai.mots.go.th/ewtadmin/ewt/chiangmai/news_view.php?nid=1625

สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน). (2557). คู่มือในการประเมินและคัดเลือกเมืองเพื่อจัดงานประชุมองค์กร การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล งานประชุมวิชาการ งานแสดงสินค้าและนิทรรศการ (MICE city). สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ. กรุงเทพฯ, ประเทศไทย.

สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน). (2562). รายงานงบประมาณประจำปี 2562. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ.

สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน). (2563). หลักเกณฑ์การประเมินเมืองเพื่อเป็นไมซ์ซิตี้. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ.

อังเคณ บุญเกิด. (2561). ศักยภาพของอุตสาหกรรมการบริการในแหล่งท่องเที่ยวภาตตะวันตก เพื่อพัฒนาเป็นไมซ์ซิตี้ในประชาคมอาเซียน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์, การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9 สาขามนุษยศาสสตร์สังคมวิทยาและการศึกษา, (น.734-744). กรุงเทพฯ, ประเทศไทย.

อุดรทูเดย์. (2020). กว่าอุดรธานีจะเป็นเมืองไมซ์อย่าให้หลุดมือ. สืบค้นจาก https://udontoday.co/211263-2/

Aaker, D.A. (2002). Building strong brand. London: Saimon & Schuster.

Ashworth, G. & Goodall, B. (1990a). Marketing tourism places. New York: Routledge.

Aziz, N., Kefallonitis, E., Friedman, B.A. (2012). Turkey as a destination brand: Perceptions of United State visitors. American International Journal of Contemporary Research, 2(1), 211-221.

Barney, J. (1991). Firm resources and sustained competitive advantage. Journal of Management, 17(1), 99-120.

Barney, J., Wright, M., & Ketchen Jr, D. J. (2001). The resource-based view of the firm: Ten years after 1991. Journal of Management, 27(6), 625-641.

Buhalis, D. (2000). Marketing the competitive destination of the future. Tourism Management, 21(1), 97-116.

Beirman, D. (2003). Restoring tourism destinations in crisis, A strategic marketing approach. Australia: Allen & Unwin.

Clifton, N. (2014). Towards a holistic understanding of country-of-origin effects? Branding of the region branding from the region. Journal of Destination Marketing & Management, 3(1), 122-132.

Crouch, G.I. & K. Weber. (2002). Marketing convention of tourism. Journal of Convention Tourism International Research and Industry Perspectives, 6(1), 56.

Davidson R., Rogers T. (2006). Marketing destinations and venues for conferences. New York: Butterworth Heinemann.

Dwyer, L., & Kim, C. W. (2004). Attributes of destination competitiveness: A factor analysis. Tourism Analysis, 9(1), 1-11.

GainingeEdge. (2020). Competitive Index 2020. Retrieved from https://gainingedge.com/wp-content/uploads/2020/12/Competitive-Index-2020.pdf?utm_source=site&utm_ medium=web&utm_campaign=CompIndex2020

Geoffrey I., Crouch. (2007). A survey and analysis of the impact of competitiveness attributes. CRC Sustainable Tourism. Australia: Gold Coast.

Goodall, B. & Ashworth, G. (eds). (1990). Marketing in the tourism industry: The promotion of destination regions. London: Routledge.

Heath, E. & Wall, G. (1992). Marketing tourism destinations: A strategic planning approach. New York: John Wiley & Sons.

Kapferer, J.N. (2004). The new strategic brand management: Creating and sustaining brand equity long term. London: Kogan page.

Kolb, B. N. (2006). Tourism marketing for cities and towns – Using branding and events to attract tourists. Oxford: Elsevier.

Kotler, P., Bowen, J. & Makens, J. (2006). Marketing for hospitality and tourism. NJ: Prentice-Hall.

McCabe, V., Poole, B., Weeks, P., & Leiper, N. (2000). The business and management of conventions. Tourism Management, 23(1), 97.

Morgan, N., Pritchard, A., Pride, R. (2004). Destination branding: Creating the unique destination proposition. (2nd ed.). Oxford: Butterworth-Heinemann.

Nykiel, R. A. & Jascolt, E. (1998). Marketing your city, USA. New York: Haworth Hospitality Press.

PATA Asia Pacific Association. (2011). Destination marketing. Issues and Trends, 16(3), 25.

Porter, M. E., & Millar, V. E. (1985). How information gives you competitive advantage. Boston, MA: Harvard Business Review.

Quinlan Cutler, S. & Carmichael, B. (2010). The dimensions of the tourist experience. Bristol: Channel View Publications.

Rogers, T. (2000). Destination industry Conference: A twenty-first century. New York: Addition Wesley Longman.

Thailand Convention & Exhibition Bureau (Public Organization). (2016). Introduction to MICE Industry. (2nd ed.) Bangkok: Thailand Convention & Exhibition Bureau.

Vergopoulos, H. (2016). The tourist experience: an experience of the frameworks of the tourist experience? via tourism review. Retrieved from http://journals.openedition.org/viatourism/1352

Wahab, S., Crampon., L. J. & Rothfield, L. M. (1976). Tourism marketing. London: Tourism International Press.

Wheeler, A. (2012). Designing brand identity: An essential guide for the whole branding team. New York: John Wiley & Sons.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-03-24