เพศวิถีในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง: บทบาทของพยาบาล

ผู้แต่ง

  • กันตพร ยอดใชย รองศาสตราจารย์, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คำสำคัญ:

การดูแลแบบประคับประคอง, ความบกพร่องการทำหน้าที่ทางเพศ, ผู้ป่วย, เพศสัมพันธ์

บทคัดย่อ

          เพศวิถีมีความสำคัญเป็นลักษณะพื้นฐาน และมีความสัมพันธ์ที่ดีโดยรวมตลอดชีวิตของการเป็นมนุษย์ อีกทั้งเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตที่มีสุขภาวะ แต่สำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองนั้น เรื่องดังกล่าวมักจะถูกมองข้ามจากทีมบุคลากรทางการแพทย์ เนื่องจากในสังคมไทยมีทัศนคติและค่านิยมเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวเป็นเรื่องส่วนบุคคล ไม่ควรเปิดเผยในที่สาธารณะ อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและคู่สมรสที่ไม่ได้รับการตอบสนองความต้องการเรื่องเพศวิถีได้ ในบทความนี้ ผู้เขียนได้นำเสนอเกี่ยวกับ คำจำกัดความที่เกี่ยวข้องกับเพศวิถีในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองมีความบกพร่องการทำหน้าที่ทางเพศ คุณลักษณะที่สำคัญของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง และบทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง โดยบทบาทของพยาบาลควรประเมินปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และปรับเปลี่ยนทัศนคติแก่ผู้ป่วยและคู่สมรสว่าเพศวิถีเป็นพื้นฐานของการเป็นมนุษย์ไม่มีถูกหรือผิด ซึ่งการแสดงออกทางเพศวิธีในผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ 1) การดูแลระยะเริ่มต้น พบว่า กิจรรมทางเพศยังคงมีความสำคัญที่พยาบาลต้องให้คำแนะนำและการดูแลที่เหมาะสม และ 2) การดูแลระยะท้าย พบว่า ความใกล้ชิดจะเข้ามามีความสำคัญทำให้ผู้ป่วยและคู่สมรสสามารถมีเพศวิถีได้อย่างเหมาะสมตามสภาวะของโรค และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

References

กิตติกร นิลมานัต. (2555). การดูแลระยะสุดท้ายของชีวิต: The end of life care. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.

ชนิกา เจริญจิตต์กุล. (2554). เพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ. วารสาร มฉก.วิชาการ, 15(29), 97-112.

ชัชวาล วงค์สารี. (2559). โรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศ: บทบาทพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพระปกเกล้า จันทบุรี, 27(2), 133-139.

พรทิพย์ คงมุต, ศิริอร สินธุ, เอมพร รตินธร, และนันทกานต์ เอี่ยมวนานนทชัย. ( 2553). ลักษณะและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดความบกพร่องทางเพศในสตรีที่ป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูกภายหลังได้รับการรักษา. วารสารพยาบาลศาสตร์, 28(1), 38-46.

Cort, E., Monroe, B., & Oliviere, D. (2004). Couples in palliative care. Sexual & Relationship Therapy, 19(3), 337-354. doi: 10.1080/14681990410001715454

Edey, M. M. (2017). Male sexual dysfunction and chronic kidney disease. Frontiers in Medicine, 4(32), 1-10.

Katz, A. (2021). Sexuality at the end of Life. Retrieved from https://www.virtualhospice.ca/en_US/Main+Site+Navigation/Home/For+Professionals/For+Professionals/The+Exchange/Current/Sexuality+at+the+End+of+Life.aspx

Mercadante, S., Vitrano, V., Catania, V., Mercadante, S., Vitrano, V., & Catania, V. (2010). Sexual issues in early and late stage cancer: A review. Supportive Care in Cancer, 18(6), 659-665. doi: 10.1007/s00520-010-0814-0

Nyatanga, B. (2019). The many challenges of living with prostate cancer. British Journal of Community Nursing, 24(11), 558-558. doi: 10.12968/bjcn.2019.24.11.558

Sunilkumar, M. M., Boston, P., & Rajagopal, M. R. (2015). Views and attitudes towards sexual functioning in men living with spinal cord injury in Kerala, South India. Indian Journal of Palliative Care, 21(1), 12-20. doi: 10.4103/0973-1075.150158

Taylor, B (2011) Addressing issues of sexuality in terminal disease. Amyotrophic Lateral Sclerosis, 12(Suppl.1), 6-8.

Taylor, S., Harley, C., Absolom, K., Brown, J., & Velikova, G. (2016). Breast cancer, sexuality, and intimacy: Addressing the unmet need. Breast Journal, 22(4), 478-479. doi: 10.1111/ tbj.12614

Van Ek, G., Krouwel, E. M., Nicolai, M., Bouwsma, H., Ringers, J., Putter, H., . . . Elzevier, H. (2015). Discussing sexual dysfunction with chronic kidney disease patients: Practice patterns in the office of the nephrologist. The Journal of Sexual Medicine, 12, 2350-2363.

Vermeer, W. M., Bakker, R. M., Stiggelbout, A. M., Creutzberg, C. L., Kenter, G. G., & Ter Kuile, M. M. (2015). Psychosexual support for gynecological cancer survivors: Professionals' current practices and need for assistance. Supportive Care in Cancer, 23(3), 831-839. doi: 10.1007/s00520-014-2433-7

World Health Organization. (2020). Palliative care. Retrieved from https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/palliative-care

World Health Organization. (2021). Sexual health. Retrieved from https://www.who.int/health-topics/sexual-health#tab=tab_1

Wright, J. (2019). Addressing sexuality and intimacy in people living with Parkinson's during palliative care and at the end of life. British Journal of Nursing, 28(12), 772-779. doi: 10.12968/bjon.2019.28.12.772

Yodchai K., Dunning T., Hutchinson A.M., Oumtanee A., Savage S. (2011). How do Thai patients with end stage renal disease adapt to being dependent on haemodialysis? A pilot study. Journal of Renal Care 37(4), 216-223.

Yodchai, K., Hutchinson, A.M., & Oumtanee, A. (2018). Nephrology nurses’ perceptions of discussing sexual health issues with patients who have end-stage kidney disease. Journal of Renal Care, 44(4), 229-237.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-09-27