กระดูกสะโพกหักในผู้สูงอายุ: บทบาทพยาบาลในการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ก่อนและหลังผ่าตัดกระดูกสะโพก

ผู้แต่ง

  • พัชราพร ตาใจ อาจารย์ประจำ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

คำสำคัญ:

กระดูกสะโพกหัก, ผู้สูงอายุ, ภาวะแทรกซ้อน, บทบาทพยาบาล

บทคัดย่อ

          กระดูกสะโพกหักเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการพลัดตกหกล้มและโรคกระดูกพรุน การผ่าตัดเป็นทางเลือกหนึ่งในการรักษาภาวะกระดูกสะโพกหัก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยอาจเกิด ภาวะแทรกซ้อนภายหลังกระดูกสะโพกหักได้ทั้งก่อนและหลังผ่าตัด โดยเฉพาะผู้สูงอายุซึ่งมักมีโรคเรื้อรังร่วม ด้วยมีโอกาสจะเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ง่ายกว่าคนอายุน้อยทั่วไป เช่น การติดเชื้อของแผล การเคลื่อนหลุดของข้อสะโพกเทียม  การเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำ การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ  เป็นต้น บทความนี้รวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์เกี่ยวกับบทบาทพยาบาลในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนสำคัญที่อาจ เกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังผ่าตัด เพื่อลดผลกระทบต่อการฟื้นหายและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย

References

คุณัสปกรณ์ มัคคัปผลานนท์ และปุณฑรี ศุภเวช. (2559). การดูแลผู้สูงอายุหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม. Veridian E-Journal Science and Technology Silpakorn University, 3(6), 57-66.

จารุพรรณ ลีละยุทธโยธิน. (2559). ประสิทธิผลของโปรแกรมการป้องกันอาการท้องผูกในผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม. วชิรสารการพยาบาล, 18(1), 1-11.

จิณพิชญ์ชา มะมม. (2562). การพยาบาลผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อ.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

จิราภรณ์ พลแก้ว และ จินต์จุฑา รอดพาล. (2560). ผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมก่อนการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมต่อความวิตกกังวลของผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 7(3), 252-261.

ชาญยุทธ ศุภชาติวงศ์. (2550). กระดูกหักและข้อเคลื่อนที่สะโพกและต้นขา. ใน วิวัฒน์ วจนะวิศิษฐ, ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์, ชูศักดิ์ กิจคุณาเสถียร, สุกิจ เลาหเจริญสมบัติ และสรศักดิ์ ศุภผล (บรรณาธิการ). ออร์โธปิดิกส์ ฉบับเรียบเรียงใหม่ ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โฮลิสติก พับลิชชิ่ง.

ประเสริฐ หลิ่วผลวณิชย์, เจริญชัย พากเพียรไพโรจน์ และสมศักดิ์ ลีเชวงวงศ์. (2558). บูรณาการในการป้องกันและรักษากระดูกหักซ้ำซ้อนจากโรคกระดูกพรุน. วารสารกรมการแพทย์, 40(4), 16-9.

พรรณงาม พิมพ์ชู. (2557). ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการจัดการอาการปวดในผู้สูงอายุหลังผ่าตัดกระดูกสะโพก หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

มลฤดี เพ็ชร์ลมุล และ สุภาพ อารีเอื้อ. (2552). การชะลอการผ่าตัดในผู้ป่วยสูงอายุที่กระดูกสะโพกหัก: ปรากฏการณ์ทางคลินิกที่ท้าทายการจัดการ. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 15(2), 233-248.

วิไลวรรณ ทองเจริญ.(2554). ศาสตร์และศิลป์การพยาบาลผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ : โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

สมบัติ โรจน์วิโรจน์. (2558). ผู้สูงอายุ 'กระดูกหัก' อาจอันตรายถึงชีวิต ต้องรีบรักษา. สืบค้นจาก https://www. bangkokhospital.com/index.php/th/diseases- treatment/the-danger-of-the-elderly-hip-fracture/

อรพรรณ โตสิงห์.(2559). การพยาบาลผู้ป่วยทางออร์โธปิดิกส์.กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

อัญชลี คันธานนท์. (2556). การพยาบาลผู้สูงอายุกระดูกข้อสะโพกหักที่มีโรคเรื้อรังร่วมด้วย : กรณีศึกษา.วารสารวิชาการแพทย์เขต 11, 7(2), 271-280.

อำนวย จิระสิริกุล. (2557). กระดูกสะโพกหักในผู้สูงอายุ. สืบค้นจาก http://haamor.com/th/

American Academy of Orthopaedic Surgeons [AAOS]. (2009). Hip Fractures. Retrieved from http://orthoinfo.aaos.org/en/diseases--conditions/hip-fractures/

Bourque, L.B., Shen, H., Dean, B.B., & Kraus, J.F. (2007). Intrinsic risk factors for falls by community-based seniors: implications for prevention. International Journal of Injury Control and Safety Promotion, 14(4), 267-270.

Carpintero, P., Caeiro, J. R., Carpintero, R., Morales, A., Silva, S., & Mesa, M. (2014). Complications of hip fractures: a review. World journal of orthopedics, 5(4), 402-411.

Carter, S.E., Campbell, E.M., Sanson-Fisher, R.W., Redman, S., Gillespie, W.J. (1997). Environmental hazards in the homes of older people. Age and Ageing, 26(3), 195–202.

Chong, C.P., Savige, J.A., & Lim, W.K. (2010). Medical problems in hip fracture patients. Archives of Orthopaedic and Trauma Surgery, 130(11), 1355-61.

Dehbozorgi, A., Khan, M., and Rahmani, MJH. (2016). Delayed Hospital Discharges; Could Pressure Sore Incidents in Fractured Neck of Femurs Patients and Elevated Nutritional Needs be a Contributing Factor?. Global Journal of Medical Research, 16(4), 1-4.

Folbert, E.C., Hegeman, J.H., Gierveld, R., van Netten J.J., Velde D.V., Ten Duis H.J., Slaets J.P. (2017). Complications during hospitalization and risk factors in elderly patients with hip fracture following integrated orthogeriatric treatment. Archives of Orthopaedic and Trauma Surgery, 137(4), 507-515.

Hung, W. W., Egol, K. A., Zuckerman, J. D., Siu, A. L. (2012). Hip Fracture Management: Tailoring Care for the Older Patient. The Journal of the American Medical Association, 307(20), 2185–2194.

Jonathan, C. (2020). Hip Fracture Types and Complication. Retrieved https://www.verywellhealth.com/hip-fracture/

Kanis, J.A., Oden, A., McCloskey, E.V., Johansson, H., Wahl, D.A., Cooper C; IOF Working Group on Epidemiology and Quality of Life. (2012). A systematic review of hip fracture incidence and probability of fracture worldwide. Osteoporosis International, 23(9), 2239–2256.

Poh, K. S., & Lingaraj, K. (2013). Complications and Their Risk Factors following Hip Fracture Surgery. Journal of Orthopaedic Surgery, 21(2), 154–157.

Sassoon, A., D'Apuzzo, M., Sems, S., Cass J., Mabry, T. (2013). Total hip arthroplasty for femoral neck fracture: Comparing in-hospital mortality, complications, and disposition to an elective patient population. The journal of Arthroplasty, 28(9), 1659-1662.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-16