ผลกระทบการเกิดภาวะสมองเสื่อมต่อผู้สูงอายุในประเทศไทย
คำสำคัญ:
ภาวะสมอง, ผลกระทบจากภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ, การพยาบาลผู้สูงอายุบทคัดย่อ
ภาวะสมองเป็นภาวะที่แสดงออกถึงการเสื่อมถอยด้านเชาว์ปัญญาและทางด้านสติปัญญาของบุคคลพฤติกรรมการแสดงออกจะผิดปกติทางการรับรู้ ความจำ จินตนาการ การคิดการใช้เหตุผล การคิดคำนวณ การตัดสินใจและการใช้ภาษา อุบัติการณ์จะมากขึ้นตามอายุที่มากขึ้น ปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุมากกว่า 10.3 ล้านคน พบจำนวนผู้ป่วยสมองเสื่อมมากกว่า 229,100 คน และคาดการณ์ที่ว่าประเทศไทยจะมีผู้ป่วยภาวะสมองเสื่อม 450,200 คน เป็นจำนวนขั้นต่ำในปี พ.ศ. 2563 หลังจากนั้นภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุจะเพิ่มจำนวนขึ้นเป็นสองเท่าทุก 20 ปี จึงปฏิเสธไม่ได้ว่าภาวะสมองเสื่อมคือผลกระทบด้านลบของประเทศไทย ซึ่งมีผลกระทบดังนี้ 1) ผลกระทบต่อผู้ป่วย 2) ผลกระทบต่อญาติผู้ให้การดูแล 3) ผลกระทบต่อระบบครอบครัว ชุมชนและสังคม 4) ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจประเทศไทย 5) ผลกระทบ ต่อระบบสุขภาพ ภาวะสมองเสื่อมทำให้ต้องสูญเสียบุคลากรที่มีคุณค่า ค่าใช้จ่ายในการรักษาที่มหาศาลและรายได้ประชาชาติลดลง ประชาชนวัยทำงานต้องรับภาระรอบด้านเพิ่มมากขึ้น พยาบาลจึงมีบทบาทสำคัญทั้งในด้านการป้องกัน การคัดกรองและการดูแลผู้สูงอายุที่มี ภาวะสมองเสื่อมแต่ละระยะ
References
กานดา วรคุณพิเศษ และศิริพันธุ์ สาสัตย์.(2558). "ผลของโปรแกรมการจัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านร่วมกับการผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบก้าวหน้าต่อภาวะเครียดของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม". วารสารเกื้อการุณย์. 22(1) : 82-97.
บรรลุ ศิริพานิช.(2559). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.
ปิติพร สิริทิพากร,(2557). "บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมและผู้ดูแล". วารสารพยาบาล. 63(4) : 12-19.
รัชนี นามจันทรา. (2553). "การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยที่มีภาวะสมองเสื่อม". วารสาร มฉก.วิชาการ. 14(27) : 137-150.
รุ่งนภา เขียวชะอ่ำ. (2559). "ผลกระทบภายหลังการบาดเจ็บที่สมอง". วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี. 27(1) : 103-111.
วิชัย เอกพลากร และคณะ. (2552). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข : บริษัท เดอะกราฟฟิก ซิสเต็มส์ จำกัด.
วิน เตชะเคหะกิจ. (2558). หลักเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
วีระศักดิ์ เมืองไพศาล. (2558). ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมและการป้องกัน. ใน ประเสริฐ อัสสันตชัย. บรรณาธิการ. ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการป้องกัน. กรุงเทพ : บริษัทยูเนี่ยนครีเอชั่น.
วีระศักดิ์ เมืองไพศาล. (2559). การป้องกัน การประเมินและการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม. พิมพ์ครั้งที่ 4. ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.บริษัทยูเนี่ยน ครีเอชั่น.
วีระศักดิ์ เมืองไพศาล. (2560). พฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุสำหรับการดูแลผู้ป่วยสูงอายุขั้นต้น. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.
ศิริพันธุ์ สาสัตย์. (2554). การพยาบาลผู้สูงอายุ : ปัญหาที่พบบ่อยและแนวทางในการดูแล. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์. (2553). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสถาบันวิจัยและการพัฒนาผู้สูงอายุไทย.
สุวิทย์ เจริญศักดิ์. (2559). "การดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อมที่มีปัญหาด้านพฤติกรรมและอารมณ์" ใน การป้องกันการประเมินและการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม. พิมพ์ครั้งที่ 4. วีระศักดิ์ เมืองไพศาล, บรรณนาธิการ. หน้า 124-131. ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.
แสงสุรีย์ ทัศนพูนชัย. (2550). "สมองเสื่อมโรคร้ายยุคใหม่คุกคามชีวิตผู้ป่วยและผู้ดูแล". Quality of Life, December.(14) : 115-120.
อาทิตยา สุวรรณ์ ,และสุทธิศรี ตระกูลสิทธิโชค. (2559). "ความชุกของภาวะสมองเสื่อมและปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ ตำบลหลักหก อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี". วารสารสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. 5(2) : 21-32.
American Alzheimer's Association. (2010). Alzheimer's Disease Facts and Figures: Includes a Special Report on Race, Ethnicity and Alzheimer's Disease. [Online]. Available March 24,2017, from https://www.alz.org/documents_custom/report_alzfactsfigures2010.pdf.
American Alzheimer's Association. (2012). 20th Alzheimer Europe conference facing dementia together Luxembourg, 30 September-2 October 2010. [Online]. Available March 24,2017, from https://www.alzheimer-europe.org/content/download 3144/107641/file/AEBRO_CONF_WEB.pdf.
Alzheimer's Disease International. (2014). Dementia in the Asia Pacific Region. [Online].Available April 7, 2017,from https://www. Dementia-Asia-Pacific-2014.pdf.
Alzheimer's Society. (2016). Fix dementia care : Hospitals. [Online]. Available April 7, 2017, https://www.alzheimers.org .uk/fixdementiacare.
Ferri, C.P., Prince ,M., Brayne, C., Brodaty, H., Fratiglioni, L.,Ganguli, M., et al. (2005). "Global prevalence of dementia : a Delphiconsensus study". The Lancet. (366) : 2112-2117.
Goren, A., William, M., Kristin, KW., Tomomi N,and Kaname U. (2016). "Impact of caring for persons with Alzheimer's disease or dementia on caregivers' health outcomes :findings from a community based survey in Japan". BMC Geriatrics. 16(10) : 122.
Gupta S., Fukuda, T. and Okumura, Y. (2014). "Caregiver Burden of Alzheimer's Disease in Japan : Poster Presentated at th ISPOR 6th Asia-Pacific Conferrence". September 6-9, 2014. Beijing, Chaina.
Kalaria, R.N., Maestre, G.E., Arizaga, R., Friedland, R.P., Galasko,D., Hall, K., et al. (2008) "Alzheimer's disease and vascular dementia in developing countries: prevalence, management, and risk factors". Lancet Neurology. (7) : 812-26.
Kluwer, W. (2015). Caregiver Dementia : Oh Yea, It's Real. [Online]. Available April 6, 2017, from https://health.usnews.com/health-news/patient-advice/articles/2015/06/19/caregiver-dementia-oh-yea-its-real.
Miharu, M. and Nakashima, T. (2014). "Features of the Japanese national dementia strategy in comparison with international dementia policies: How should a national dementia policy interact with the public health- and social-care systems? ". Alzheimer's & Dementia. (10) : 468-476.
Reisberg, B., Ferris, S.H., de Leon, M.J. and Crook, T. (1982). "The global deterioration scale for assessment of primary degenerative dementia". American Journal of Psychiatry. 139(9) : 1136-1139.
Robert, H. (2009). "Now that I live with dementia" . Global Perspective. 19(1) : 3.
Ross, C. and Beattie, E. (2015). Caring for someone with Dementia : The Economic , Social and Health Impacts of Caring and Evidence based support for careers. A Report prepared for Alzheimer's Australia: Princeton University Press.
Takaaki, MORI. and Shuichi, UENO. (2011). "Support Provided to Dementia Patients by Caregivers and the Community". JMAJ. 54(5) : 301-304.
Wangtonkum ,S., Sucharritkul, P., Silpreasert, N. and Inthracchak, R. (2008). "Prevalence of dementia among population age over 45 year in Chiang Mai, Thailand". J med Assoc Thai. 91(11) : 1685-1690.
Wantana, C. (2003). Factors influencing on quality of life among patients with traumatic brain injury.Thesis M.N.S. (Adult Nursung), Mahidol University . Bangkok, Thailand.
Yumi shindo. (2017)." Education Programs on Dementia Carae in Japan: International Nurse Education Conference". March 21,2007 Mahidol University, Bangkok , Thailand.