ความคิดสร้างสรรค์ : สิ่งที่ขาดหายไปในระดับอุดมศึกษา

ผู้แต่ง

  • ประพันธ์ศักดิ์ ตวงสุวรรณ มหาวิทยาลัยศิลปากร

บทคัดย่อ

           การเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา เป็นกระบวนการในการพัฒนานักศึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่การทำงานในชีวิตจริง  โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรพัฒนาทักษะในด้านความคิดสร้างสรรค์ควบคู่ไปกับด้านวิชาการ เพื่อกระตุ้นนักศึกษาให้เกิดความคิดและสร้างแรงบันดาลใจรวมทั้งพลังในการสรรสร้างนวัตกรรม ด้วยการนำประสบการณ์เดิม ในชีวิตของนักศึกษาไม่ว่าจะเป็นด้านความรูวิชาการความรู้ในโลก ความรู้ ในสังคมเพื่อน ความรู้จากการค้นคว้าด้วยโซเชียลเน็ตเวิร์ก การใช้ชีวิตมุมมองในสังคม ประสบการณ์ชีวิตของตนเอง ความบันเทิง ตลอดจน จินตนาการ มาใช้เป็นทุนในการคิด การตัดสินใจ และการพัฒนาขึ้นเป็นความคิดใหม่ตามโจทย์การจัดกิจกรรมนักศึกษา

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545). การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ซัคเซสมีเดีย จำกัด.

ธนาคารกรุงเทพฯ. (2559). เตรียมตัวอย่างไรก่อนเข้าสู่ Thailand 4.0. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2560, จาก https://thaiembdc.org/th/2016/12/29/รู้จักกับ-thailand-4.0-แบบเข้าใจง่าย.

ภูเก็ตนิวส์. (2559). ชี้ช่องทางสร้างสรรค์ กิจกรรมนักศึกษา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2560, จาก https://www.phuketnews.info/ชี้ช่องทางสร้างสรรค์กิจกรรมนักศึกษา/.

ยุทธชัย เฉลิมชัย. (2560). เด็กไทยเรียนหนักที่สุดในโลก. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2560, จาก https://www.unigang.com/Article/9445#LBzZ1SCIXHWbr9cH.99.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (ม.ป.ป.). สี่เสาหลักของการศึกษา. สาขาวิจัยและพัฒนาหลักสูตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (เอกสารประกอบการบรรยาย).

ศิริณา จิตต์จรัส และคณะ. (2560). "แนวทางการจัดการศึกษาต่อเนื่องในสถาบันอุดมศึกษา." Veridian E-Journal, Silpakorn University 10, (1) : 317-318.

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2560). "THAILAND ON THE MOVE". วารสารไทยคู่ฟ้า. (17) : 8-9.

สุปรียา ศิริพัฒนกุลขจร. (2555). "การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (The 21th Century Learning)". The NAS Magazine มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี. (2) : 19-20.

สุวัฒน์ วัฒนวงศ์. (2547). จิตวิทยาเพื่อการฝึกอบรมผู้ใหญ่. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2559). ปรับภารกิจกรมการค้าภายในเพื่อเป็นกลไกหลักขับเคลื่อนเศรษฐกิจภายในประเทศ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2560, จาก https://www.youtube.com/watch?v=EsYOnkDKXqg.

อารี พันธ์มณี. (2557). ฝึกให้คิดเป็น คิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อารี รังสินันท์. (2532). ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง.

ฮิฮิโร อิเกะฮะวะ. (2543). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ แปลและเรียบเรียงโดย บัณฑิต ประดิษฐานุวงษ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.

Edward De Bono. (2553). เรื่องมหาวิทยาลัย. Think ! Before It's Too Late (คิด! ทลายกรอบคิดเดิม). กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ด ยูเคชั่น.

Knowles, M.S. (1972). The Modern Practice of Adult Education : Andragogy Versus Pedagogy.New York : Association Press.

Lovell, R.B. (1980). Adult Learning. New York: John Wiley & Sons, Inc.

OSHO. (2552). คุรุวิพากษ์คุรุ. แปลและเรียบเรียงโดย โตมร ศุกปรีชา. กรุงเทพฯ : GM BOOKS.

Sir Ken Robinson. (2006). Do School Kill Creativity. [Online]. Retrieved May 17, 2017, from https://www.ted.com/talks/ken_robinson_says_schools_kill_creativity.

Tom Wujec. (2553). Five Star Mind อัจฉริยะ ฉลาดคิด. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เอ็กซ์เปอร์เน็ท.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-31