ตัวแบบการจัดการการตลาดที่นำไปสู่การซื้อซ้ำผลิตภัณฑ์ไข่เค็มใบเตยของวิสาหกิจชุมชน
คำสำคัญ:
การจัดการการตลาด, ปริมาณการซื้อ, การซื้อซ้ำบทคัดย่อ
การศึกษาความสัมพันธ์และตัวแบบการจัดการการตลาดที่นำไปสู่การซื้อซ้ำผลิตภัณฑ์ไข่เค็มใบเตยของวิสาหกิจชุม กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์ไข่เค็มใบเตยของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านโคกพุทรา จังหวัดลพบุรี มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจ ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจทางการตลาด ปริมาณการซื้อ และการซื้อซ้ำ และตัวแบบการจัดการการตลาดที่นำไปสู่การซื้อซ้ำกลุ่มตัวอย่างคือผู้บริโภคที่ซื้อผลิตภัณฑ์ไข่เค็มใบเตย จำนวน 384 คน โดยใช้เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสำรวจและแบบสัมภาษณ์สำหรับวิจัยเชิงปริมาณ และใช้สถิติการวิเคราะห์เชิงพรรณนาร่วมกับการวิเคราะห์เชิงอนุมานได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณซึ่งผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มีความสัมพันธ์กับปริมาณการซื้อ และการซื้อซ้ำ โดยตัวแปรด้านผลิตภัณฑ์และตัวแปรปริมาณการซื้อแต่ละครั้งสามารถอธิบายการซื้อซ้ำของผู้บริโภคไข่เค็มใบเตยได้ร้อยละ 67.3 ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ว่าวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตไข่เค็มใบเตยควรส่งเสริมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ให้เพิ่มมากขึ้นเนื่องจากเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อปริมาณการซื้อ และทำให้เกิดการซื้อซ้ำมากขึ้น
References
กรมส่งเสริมการเกษตร. (2552). การดำเนินงานพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย จำกัด.
คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. (2561). ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม พ.ศ. 2561, จาก https://www.sceb.doae.go.th/.
จารุวรรณ มีศิริ. (2555). ส่วนประสมทางการตลาดและรูปแบบการใช้ชีวิตต่อความตั้งใจซื้อจานดาวเทียม DTV ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ดวงใจ หทัยวิวัฒน์กุล. (2553). พฤติกรรมการซื้ออาหารสำเร็จรูปของผู้บริโภคในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
นันทสารี สุขโต และคณะ. (2555). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: บริษัท เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า จำกัด.
ปานทิพย์ เปลี่ยนโมฬี. (2552). อาหารพร้อมบริโภคโอกาสของ SMEs ไทย. อุตสาหกรรมสาร. (ฉบับเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์). กรุงเทพฯ: ซี แอด. โปรโมชั่น.
พารณี จันทร์ปัญญา. (2555). การวัดและทำนายความภักดีต่อตราสินค้าของผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่: กรณีศึกษาเปรียบเทียบเอไอเอสดีแทคและทรูมูฟ. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร. 9.(กรกฎาคม-ธันวาคม). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
สมหมาย เปียถนอม. (2551). ความพึงพอใจของนักศึกษาในการได้รับการบริการจากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. นครปฐม : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
หมะหมูด หะยีหมัด. (2555). ความภักดีต่อตราสินค้าในมิติเชิงทัศนคติและมิติเชิงพฤติกรรม. ดุษฎีนิพนธ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Alcina G. Ferreira and Filipe J. Coelho. (2015). Product involvement, price perceptions,and brand Loyalty. Journal of Product & Brand Management. 24(4),349-364.
Cristina CalvoPorral and Jean-Pierre Levy-Mangin. (2015). Global brands or localheroes: evidence from TheSpanish beer market. British Food Journal. 117(2), 565-587.
Joel Espejel, CarminaFandos, and Carlos Flavin. (2008). Consumer satisfaction : A keyfactor ofconsumer loyalty and buying intention of a PDO food product. British Food Journal. 110(9), 865-881.
Matthew Tingchi Liu, et al. (2012). Exploring the relationship among affective loyalty, per ceived benefits, attitude,and intention to use co?branded products. Asia Pacific Journal of Marketing and Logistics. 24(4), 561-582.
Suthar B.K., Lathangi R., and ShamalPradhan. (2014). Impacts of Marketing Mix and Customer Perception on Brand Loyalty. Global Journal of Finance andManagement. 6(7), 619-636.
Tho D. Nguyen, Nigel J. Barrett, and Kenneth E. Miller. (2011). Brand loyalty in emerging Markets. Marketing Intelligence & Planning. 29(3), 222-232.
WheelenL.Thomas, and Hunger J. David. (2012). Strategic management and business policy: Toward Global Sustainability.13.Edition. Pearson Education.