แผนภาพความสมนัยระหว่างช่วงวัยกับค่าตอบแทนและความจงรักภักดีต่อองค์กร ของพนักงานรายเดือน บริษัท เอเชี่ยนอะไลอันซ์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด

ผู้แต่ง

  • วรรณชัย ธุระแพง คณะวิทยาการจัดการ มหาลัยศิลปากร

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์ความสมนัย, ช่วงวัย, ค่าตอบแทน, ความจงรักภักดีต่อองค์กร

บทคัดย่อ

          งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแผนภาพความสมนัยของช่วงวัยกับค่าตอบแทนและความจงรักภักดีต่อองค์กร กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคือ พนักงานของบริษัท เอเชี่ยนอะไลอันซ์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัดจำนวน 219 คน โดยช่วงวัยประกอบด้วย เจนเนเรชั่นเอ็กซ์ เจนเนอร์เรชั่นวายและเจนเนอร์เรชั่นแซด เครื่องมือในการเก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม และใช้เทคนิคการวิเคราะห์การสมนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) ช่วงวัยมีความสัมพันธ์กับค่าตอบแทนในด้านเงินพิเศษที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับค่าตอบแทนในด้านการยอมรับจากบุคคลภายนอก ด้านความมั่นคงในงาน ด้านความท้าทายในงาน ด้านโอกาสการเรียนรู้ ด้านเงินเดือนค่าจ้าง และด้านเวลา 2) ช่วงวัยมีความสัมพันธ์กับความจงรักภักดีต่อองค์กรในด้านความรับผิดชอบในหน้าที่ และด้านความซื่อสัตย์ต่อองค์กรที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับด้านความยึดมั่นในองค์กร ด้านความภาคภูมิใจในองค์กรและด้านความเต็มใจในการปฏิบัติงาน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางกำหนดนโยบายขององค์กรอื่นๆ เพื่อสร้างความจงรักภักดีของพนักงานต่อองค์กรต่อไป

References

กัลยรัศมิ์ ทิณรัตน์. (2559). ผลกระทบของการบริหารค่าตอบแทนที่มีต่อความกระตือรือร้นในการทำงานของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 8(2), 157-165.

จรูญศักดิ์ สุนทรเดชา. (2561). เทคนิคการบริหารค่าตอบแทนที่มีประสิทธิภาพ. วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, 5(1), 43-54.

จีรภัคร เอนกวิถี ประพันธ์ ชัยกิจอุรา และพีระพงษ์ กิติเวชโภคาวัฒน์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับความจงรักภักดีต่อองค์กรของพนักงาน กรณีศึกษา โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 1(3), 48-58.

ชมพูนุท บุญประเสริฐ. (2555). ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมกับความผูกพันของพนักงานกลุ่ม Generation Y. วารสารการจัดการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 1(2), 24-36.

ณพัชญ์ปภา สว่างนุวัตรกุล. (2562). ความผูกพันต่อองค์การจากมุมมองบุคคลากรทางการศึกษาเจเนอเรชั่นวาย. วารสารช่อพะยอม, 30(2), 109-118.

ธรรมรัตน์ อยู่พรต. (2556). การรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรและการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของเจนเนอเรชั่นต่างๆ. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 4(2), 24-39.

ธัญญภัสร์ ศิรธัชนราโรจน์ สกล วรเจริญศรี และปริญญา มีสุข. (2560). ความภาคภูมิใจในตนเองและความยืดหยุ่นตัวของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสาร Veridian, 10(3), 512-529.

ธีรยุทธ นิลมูล. (2558). “แหนแห่ให้เห็นงาม”: พฤติกรรมการยอมรับ และการมีส่วนร่วม ในการแหนแห่ทางวัฒนธรรมในเขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์, 10(2), 369-379.

ธีรญา ศรีใสและภิญโญ รัตนาพันธุ์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างความเหนื่อยหน่ายกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจของหน่วยงานตำรวจภูธรจังหวัดขอนแก่น..วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ, 11(1), 126-143.

นริศรา สุระวิญญู..(2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของผู้จัดการตรวจสอบบัญชี Gen Y ในสำนักงานสอบบัญชีขนาดใหญ่ 4 แห่ง. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ

ปภัสสรา ชัยวงศ์. (2557). กรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีความสามารถในการสื่อสารระหว่างบุคคลากรต่างรุ่นในองค์กรไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ

ปิยะฉัตร แวงโสธรณ์. (2548). แบบภาวะผู้นำ สมรรถนะผู้นำ กับความจงรักภักดีต่อองค์การของพนักงาน : ศึกษาเฉพาะกรณี บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, กรุงเทพฯ

พัชลินจ์ จีนนุ่น คุณัชญ์ สมชนะกิจ และธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2559). หลักและวิธีสอนคุณธรรม จริยธรรมที่เหมาะสมกับเยาวชนจากวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ ชุดวรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมคัดสรร. วารสารปาริชาต, 29(1), 58-83.

พนัชกร สิมะขจรบุญ. (2554). การศึกษาค่าตอบแทนและสวัสดิการของธุรกิจโรงแรมประเภทแฟรนไชด์ : กรณีศึกษา กรุงเทพมหานคร. วารสาร Veridian, 4(1), 526-540.

พิชชาภร จวงวาณิชย์. (2560). อิทธิพลของช่วงอายุต่อความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนรวมและความผูกพันต่อองค์กรในวิชาชีพบัญชี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ

พสชนันท์ บุญช่วยและวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ (2561). อิทธิพลของความสุขในการทำงาน ความไว้วางใจในองค์กร และความมั่นคงในงานส่งผลต่อความผูกพันและประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงานบริษัทผลิตอุตสาหกรรม จังหวัดปทุมธานี. วารสาร Veridian, 11(2), 867-885.

เยาวภา นียากรและกนกกานต์ แก้วนุช. (2562). ระบบการให้ค่าตอบแทน ผลประโยชน์และรางวัลเพื่อก่อให้เกิดความผูกพันทุ่มเทในธุรกิจโรงแรม. วารสารบัณฑิตวิทยาลัยพิชญทรรศน์, 14(2), 131-139.

วิเชียร นิลเศษ ระมัด โชชัย และพรเพ็ญ โชชัย..(2555). การบริหารเวลาของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกกำแพงเพชร เขต 2. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 2(2), 93-102.

ศรัณยา ฉ่อนเจริญ. (2560). ทัศนคติในการทำงานของพนักงานประจำเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และเจนเนอเรชั่นวายในจังหวัดเชียงราย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, จังหวัดเชียงราย

สรชา กลมโสภณวศิน. (2556). การศึกษาพฤติกรรมความสนใจของวัยรุ่นกลุ่ม Gen Z ที่มีต่อสื่อธรรมะในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ

สุดารัตน์ พิมลรัตนกานต์ และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2560). อิทธิพลของการรับรู้บรรยากาศองค์การผ่านความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์การที่มีผลการปฏิบติงานตามบทบาทหน้าที่. วารสาร Veridian, 10(2), 1611-1629.

สุทธิพงษ์ เกียรติวิชญ์. (2562). แบบจำลองความสัมพันธ์ระหว่างความกระปรี้กระเปร่าในงานกับผลการปฏิบัติงานโดยมีความยืดหยุ่นทางการรู้คิด ความพึงพอใจในงาน บรรยากาศองค์การ ความยืนหยัดในงานและการกำหนดเป้าหมายที่ท้าทายเป็นตัวแปรส่งผ่าน. วารสาร Veridian, 12(2), 140-151.

อัจจิมา บำเพ็ญบุญและพุฒิธร จิรายุส..(2559)..ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอจัยในการปฏิบัติงานของพนักงานกลุ่ม Gen Y. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ, 9(2), 239-252.

Borman, W.C., & Motowidlo, S.J. (1993). Expanding the criterion domain to include elements of contextual performance. In N. Schmidt, W.C. Borman A. Howard, A. Kraut, D. ilgen, B. Schneider, & S. Zedeck (Eds.), Personnel Selection on Organizations (pp. 71-98). San Francisco: Jossey Bass.

Gomez, P.J., Lorente, J.C. and Cabrera, R.V. (2007). Organizational learning and compensation strategies: Evidence from the Spanish chemical industry. Global Business and Organizational Excellence. 26(3), 51-72.

Milkovich, George T. and Newman Jerry M. (2004). Compensation. (7th ed.). New York: Mc Graw Hill.

Yamane. (1967). Taro Statistic : An Introductory Analysis. New York: Harper & row.

Zemke, R., and Connellan, T. (2000). E-service: 24 ways to keep your customer-when then competition is just a click away. New York: American Management Association.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-10-15