การช่วยชีวิตผู้ใหญ่ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นภายนอกโรงพยาบาล

ผู้แต่ง

  • พรทิพย์ จอกกระจาย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

คำสำคัญ:

การช่วยฟื้นคืนชีพ, ห่วงโซ่การรอดชีวิต, ภาวะหัวใจหยุดเต้น, การจัดการภายนอกโรงพยาบาล

บทคัดย่อ

         ภาวะหัวใจหยุดเต้น เป็นภาวะที่ไม่สามารถคาดได้ว่าจะเกิดขึ้นเมื่อใด โดยพบว่าผู้ป่วยจำนวนมากเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นภายนอกโรงพยาบาล  บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลเชิงประจักษ์เกี่ยวกับกระบวนการช่วยชีวิตบุคคลที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นภายนอกโรงพยาบาล ตามขั้นตอนของห่วงโซ่การรอดชีวิต  เริ่มจากการโทรแจ้งเหตุขอความช่วยเหลืออย่างรวดเร็วที่หมายเลข 1669 ซึ่งถือเป็นเรื่องสำคัญอันดับแรก และเป็นการปฐมพยาบาลอย่างหนึ่ง ร่วมกับการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างทันท่วงที  เพื่อช่วยเพิ่มโอกาสการรอดชีวิตในผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น  หากผู้ช่วยเหลือมีความรู้และทักษะที่ถูกต้องเกี่ยวกับการช่วยฟื้นคืนชีพภายนอกโรงพยาบาล จะช่วยให้เกิดความมั่นใจในการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น ทำให้ผู้ป่วยเหล่านั้นมีโอกาสรอดชีวิต สามารถกลับมามีชีวิตที่ยืนยาวอย่างมีคุณภาพต่อไป

References

ธวัช ชาญชญานนท์ ปิยวรรณ สุวรรณวงศ์ และศศิกานต์ นิมมานรัชต์. (2554). ผลของการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ และปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์. สงขลานครินทร์เวชสาร, 29 (1), 39 – 49.

ปริญญา คุณาวุฒิ, นลินาสน์ ขุนคล้าย และบวร วิทยชำนาญกุล (บรรณาธิการ).(2558). สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี ค.ศ. 2015. กรุงเทพฯ: บจก.ปัญญมิตรการพิมพ์.

มาลี คุณคงคาพันธ์ และฐิติพันธ์ จันทร์พัน. (2558). ลักษณะผู้ป่วยภาวะหัวใจหยุดเต้นหรือหยุดหายใจและปัจจัยที่สัมพันธ์กับความสำเร็จของปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพในงานอุบัติเหตุฉุกเฉินโรงพยาบาลแม่สาย จังหวัดเชียงราย.วารสารการพยาบาล การสาธารณสุข และการศึกษา, 16 (1), 53 -66.

มูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. (2017). รู้จักเครื่อง AED - กู้ชีวิต ณ ที่เกิดเหตุ. Retrieved from http://www.thaiheartfound.org/category/details/exercise/253

โสภณ กฤษณะรังสรรค์, จริยา สันตติอนันต์ และรัชนี แซ่ลี้ (บรรณาธิการ). (2559). คู่มือการช่วยชีวิตขั้นสูง สำหรับบุคลากรทางการแพทย์. กรุงเทพ ฯ : บจก.ปัญญมิตร การพิมพ์.

วสันต์ ลิ่มสุริยกานต์. (2561)..ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการฟื้นคืนชีพของหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลที่ได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพในห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 8 (1),16-23.

อุรา แสงเงิน สุพัตรา อุปนิสากร และทิพมาส ชิณวงศ์. (2555). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้และทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพของพยาบาลโรงพยาบาลสงขลานครินทร์. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 32 (1),1-10.

American Heart Association. (2015). Highlights of the 2015 American Heart Association Guidelines Update for CPR and ECC, p.4. Retrieved from https://eccguidelines.heart.org/wp-content/uploads/2015/10/2015-AHA-Guidelines-Highlights-English.pdf

Bucki, B., Waniczek, D., Michnik, R., Karpe, J., Bieniek, A., Niczyporuk, A., Makarska, J., Stepien, T., Myrcik, D., & Misiołek, H. (2019). The assessment of the kinematics of the rescuer in continuous chest compression during a 10-min simulation of cardiopulmonary resuscitation. Eur J Med Res, 24 (1), 9 doi:10.1186/s40001-019-0369-6.

Bucki, B., Karpe, J., Michnik, R., Niczyporuk, A., Makarska, J., Waniczek, D., Bieniek, A., Misiołek, H. (2017). Depth and rate of chest compression in CPR simulation during 10-minute continuous external cardiac compression. Annales Academiae Medicae Silesiensis. 71. 1-6. 10.18794/aams/65226.

Bürger, A., Wnent, J., Bohn, A., Jantzen, T., Brenner, S., Lefering, R., Fischer, M. (2018). The effect of ambulance response time on survival following out-of-hospital cardiac arrest: an analysis from the German resuscitation registry. Deutsches Aerzteblatt International, 115(33/34), 541–548. https://doi.org/10.3238/arztebl.2018.0541

Fukuda, T., Ohashi-Fukuda, N., Matsubara, T., Gunshin, M., Kondo, Y., & Yahagi, N. (2016). Effect of prehospital epinephrine on out-of-hospital cardiac arrest: a report from the national out-of-hospital Cardiac arrest data registry in Japan, 2011-2012. European Journal of Clinical Pharmacology, 72(10), 1255–1264. https://doi.org/10.1007/s00228-016-2093-2

Gabriel, R., Mattias, R., Martin, J., Leif, S., Johan, H., Andreas, C., Therese, D., Per, N., Sune, ., Sten, R., Anette, N., Marten, R., & Jacob, H. (2019). Survival in out-of-hospital cardiac arrest after standard cardiopulmonary resuscitation or chest compressions only before arrival of emergency medical services. Circulation. 139:2600–2609 Retrieved from https://doi.org/10.1161/CIRCULATIONAHA.118.038179

Hawkes, C., Booth, S., Ji,C., Brace-McDonnell, SJ., Whittington, A., Mapstone, J., Cooke, MW., Deakin, CD., Gale, CP., Fothergill, R., Nolan, JP., Rees, N., Soar, J., Siriwardena, A. N., Brown, TP., & Perkins, GD. (2017 ). Epidemiology and outcomes from out-of-hospital cardiac arrests in England. Resuscitation. 110,133-140. DOI: https://doi.org/10.1016/j. resuscitation.2016.10.030

Hung, S., Mou, C., Hung, H., Lai, S., Chen, C., Lin, J., Cheng, K. (2017). Non-traumatic out-of-hospital Cardiac arrest in rural Taiwan: A retrospective study. Australian Journal of Rural Health, 25(6), 354–361. https://doi.org/10.1111/ajr.12341

Kitamura, T., Kiyohara, K., Nishiyama, C., Kiguchi, T., Kobayashi, D., Kawamura, T., & Iwami, T. (2018). Chest compression-only versus conventional cardiopulmonary resuscitation for bystander-witnessed out-of-hospital Cardiac arrest of medical origin: A propensity score-matched cohort from 143,500 patients. Resuscitation, 126, 2018, 36-42 Retrieved from https://doi.org/10.1016/j.resuscitation.2018.02.017

National Health Care Provider Solutions (NHCPS). (2017). Advanced Cardiovascular Life Support (ACLS) Certification course. Retrieved from https://nhcps.com/lesson/acls-cases-ventricular-fibrillation-pulseless-ventricular-tachycardia/

Tuttle, J. E., & Hubble, M. W. (2018). Paramedic out-of-hospital cardiac arrest case volume is a predictor of return of spontaneous circulation. Western Journal of Emergency Medicine: Integrating Emergency Care with Population Health, 19(4), 654–659. https://doi.org/10.5811/westjem.2018.3.37051

Visser, M., Bosch, J., Bootsma, M., Cannegieter, S., Dijk, A., Heringhaus, C., Nooij, J., Terpstra,N., Peschanski, N., & Burggraaf, K. (2019). An observational study on survival rates of patients with out-of-hospital Cardiac arrest in the Netherlands after improving the ‘chain of survival’. BMJ Open. 2019; 9:e029254. doi:10.1136/ bmjopen-2019-029254

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-08-31