เทคโนโลยีความจริงเสริม: การประยุกต์ใช้ทางการศึกษาพยาบาล
คำสำคัญ:
เทคโนโลยีความจริงเสริม, การศึกษา, นักศึกษาพยาบาล, สื่อการเรียนรู้บทคัดย่อ
เทคโนโลยีความจริงเสริมเป็นสื่อการเรียนการสอนที่ดีสามารถช่วยผู้สอนในการฝึก การกระตุ้นให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์ได้ เทคโนโลยีความจริงเสริมเป็นการนำเสียง วิดิทัศน์ ภาพ กราฟิก ภาพเคลื่อนไหวหรือแอมิเนชันมาสร้างในรูปแบบ 3 มิติ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงได้ง่าย เรียนรู้ด้วยตัวเองตลอดเวลา ซึ่งขั้นตอนการสร้างเทคโนโลยีความจริงเสริมที่นำมาประยุกต์ใช้ในทางการศึกษาพยาบาลมี 3 ขั้นตอน คือ เตรียมบทเรียน การสร้างเทคโนโลยีความจริงเสริม และพัฒนาแอปพลิเคชัน หากการเรียนการสอนทางการพยาบาลนำเทคโนโลยีความจริงเสริมมาใช้ในการเรียนการสอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติจะสามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเข้าใจองค์ความรู้และสามารถคิดวิเคราะห์ นำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล ผู้เรียนสามารถทบทวนเนื้อหาการพยาบาลและทักษะปฏิบัติการพยาบาล จนในที่สุดผู้เรียนมีความมั่นใจสามารถนำความรู้ลงสู่การปฏิบัติการพยาบาลอย่างถูกต้องตามมาตรฐานวิชาชีพ
References
ไกรวิชญ์ ดีเอม. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนร่วมกับเทคโนโลยีความจริงเสริมรายวิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของมนุษย์สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต). มหาวิทยานเรศวร,พิษณุโลก.
จารุต บุศราทิจ และดนัย เจษฎาฐิติกุล. (2561). การพัฒนาระบบความเป็นจริงเสริม (AR) สำหรับแนะนำเส้นทางท่องเที่ยวภายในโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ รัชกาลที่ 9 บ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี พ.ศ. 2561 (รายงานผลวิจัย). เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
พรรณี ปานเทวัญ. (2559). การพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 กับการเรียนรู้เชิงรุกในวิชาชีพพยาบาล วารสารพยาบาลทหารบก. 17.(3), 17-24.
วนิดา เสนะสุทธิพันธ์. (2550). การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด. ใน บัญจางค์ สุขเจริญ วิไล เลิศธรรมเทวี ฟองคำ ดิลกสกุลชัย และศรีสมบูรณ์ มุสิกสุคนธ์.(บ.ก.) ตำราการพยาบาลเด็ก. (น. 745-854) กรุงเทพฯ: พรีวัน.
สภาการพยาบาล. (2560). ข้อบังคับสภาการพยาบาล สืบค้นจาก https://www.tnmc.or.th/news/123.
สุบิน ไชยยะ. (2560). การใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงในห้องสมุดประชาชน.วารสารบรรณศาสตร์ มศว, 10(2),134-148.
สายสมร เฉลยกิตติ, สรินทร เชี่ยวโสธร และ ญาดา นุ้ยเลิศ. (2562). การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมสื่อการสอนเสมือนจริงโดยสมารท์โฟน. พยาบาลทหารบก. 25(1).5-15.
Apple. (2019). Augmented Reality. Retrieved form https://developer.apple.com/augmented- reality/.
Doswell,T.J, Salaam,D,C & Daniels,W. (2018). Innovative Utilization of Augmented Reality and Simulation to Promote Nursing Practice. Annals of Nursing and Primary Care, 1(1),1-3.
Pugoy, R.A., Ramos,R.C., Figueroa,R,B., Rivera, H.C., Siritarungsri,B., Cheevakasemsook, A., & Kaewsarn,P. (2016). Augmented Reality in Nursing Education: Addressing the Limitations of Developing a Learning Material for Nurses in the Philippines and Thailand. IJODeL, 2(1)11-24.
Wüller H, Garthaus M, Remmers H. (2017). Augmented Reality in Nursing: Designing a Framework for a Technology Assessment. Studies in Health Technology and Informatics, 245:823-827.