ปัจจัยจำแนกกลุ่มที่ตั้งใจจะเลือกใช้บริการหรือกลุ่มที่ตั้งใจจะไม่เลือกใช้บริการสุขภาพ สถานพยาบาลเอกชนที่จะเปิดใหม่ ของประชากรในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ประเทศไทย
คำสำคัญ:
พฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพ, เขตเศรษฐกิจพิเศษ, คุณภาพการบริการบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเชิงพรรณนานี้ คือ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยจำแนกกลุ่มที่ตั้งใจจะเลือก และกลุ่มที่ตั้งใจจะไม่เลือกใช้บริการสุขภาพในสถานพยาบาลเอกชนที่จะเปิดใหม่ในอนาคต 2) เพื่อวิเคราะห์และสร้างสมการปัจจัยจำแนกกลุ่มที่ตั้งใจจะเลือก และกลุ่มที่ตั้งใจจะไม่เลือกใช้บริการสุขภาพในสถานพยาบาลเอกชนที่จะเปิดใหม่ในอนาคต ของประชากรในเขตเศรษฐกิจพิเศษ แม่สอด จังหวัดตาก ภายใต้กรอบทฤษฎีการเลือกอย่างมีเหตุผล โดยการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็น คือ การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือสำคัญในการเก็บรวบรวมข้อมูล ที่คุณภาพของเครื่องมืออยู่ในระดับดี (Cronbach’s alpha coefficient= 0.858, 0.868, 0.913) และใช้สถิติวิเคราะห์จำแนกกลุ่มด้วยวิธีการคัดเลือกแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยจำแนกการเลือกใช้และไม่เลือกใช้บริการมี 3 ปัจจัย สามารถร่วมกันเป็นปัจจัยจำแนกการตัดสินใจที่จะเลือกใช้หรือไม่เลือกใช้บริการได้ถูกต้อง ร้อยละ 73.4 ได้ผลการวิจัยเป็น
สมการจำแนกกลุ่มในรูปคะแนนมาตรฐาน คือ ZD= -0.734 ภาพรวมคุณภาพการบริการของสถานพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการอยู่+0.607พฤติกรรมการเข้ารับการรักษาโดยใช้สิทธิบัตรทอง+0.445พฤติกรรมเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินจะการเลือกใช้บริการในสถานพยาบาลรัฐ
สมการจำแนกกลุ่มในรูปคะแนนดิบ คือ D= 3.096-1.193 ภาพรวมคุณภาพการบริการของสถานพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการอยู่ +1.350 พฤติกรรมการเข้ารับการรักษาโดยใช้สิทธิบัตรทอง +1.037พฤติกรรมเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินจะการเลือกใช้บริการในสถานพยาบาลรัฐ
แนวทางการนำไปใช้ประโยชน์จากผลการศึกษาครั้งนี้ ผู้บริหารการพยาบาลทั้งในสถานพยาบาลรัฐและเอกชน สามารถนำผลการวิจัยไปใช้ในพัฒนาคุณภาพบริการให้ดีขึ้น
References
กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนการประชาสัมพันธ์ สำนักโฆษก สำนักนายกรัฐมนตรี. (2557). คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) การประชุมครั้งที่ 1/2557. สืบค้นจาก https://www.nesdb.go.th/ LinkClick. aspx? fileticket=BuXQEc433Ws%3D
เจาะลึกระบบสุขภาพ (2559). ธุรกิจนอก โรงพยาบาลกำไรดี เครือ โรงพยาบาลกรุงเทพ เดินหน้าลงทุนเพิ่ม ปักธงชายแดน/อาเซียน). สืบค้นจาก https://www.hfocus.org/content/2016/01/11610
เฉิด สารเรือน และ นิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์. (2558). การเข้าถึงบริการสุขภาพของแรงงานต่างด้าวก่อนก้าวสู่เขตพัฒนาเศรษฐกิจ และประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ชายแดนไทย-เมียนมาร์ จังหวัดตาก. วารสารพยาบาลสาธารณะสุข, 29(3), 123-136.
ดํารง แสงกวีเลิศ และนันธิกา ทังสุพานิช. (2545). เขตเศรษฐกิจพิเศษ : แนวคิดใหม่ในการพัฒนาพื้นที่เฉพาะ. วารสารเศรษฐกิจและสังคม, 39 (2),42-43.
ประชาคมอาเซียน (2561). แม่สอดสะพัดแสนล้าน คาดปี 61 โต 10%. สืบค้นจาก https://www.posttoday. com/aec/news/540573
สกาวรัตน์ ศิริมา. (2557). เร่งโปรเจคอุโมงค์แม่สอด-ตาก หวังเปิดประตูสู่อาเซียน-ยุโรป. สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/aecgurunow/aec-wan-ni/rengporcekhxumongkhmaesxd- takhwangpeidpratusuxaseiyn-yurop
สังคมประชาคมอาเซียน. (2558). ไทยกับการเป็นศูนย์กลางของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภาค 2. ปทุมธานี: ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. (2559). บอร์ด สปสช. คืนสิทธิให้ผู้ป่วยบัตรทองใช้สิทธิฉุกเฉินตามจำเป็นที่โรงพยาบาลอื่นได้แม้ไม่วิกฤติแต่ยึด ตามมาตรา 7. สืบค้นจากhttps://www.nhso.go.th/ frontend/NewsInformationDetail.aspx?newsid=MTU1MA==
อัลฟารีเสิร์ช. (2557). ทำเนียบสถานพยาบาลของรัฐและเอกชน 2556-2557. นนทบุรี: อัลฟารีเสิร์ช จำกัด
อรรถไกร พันธุ์ภักดี. (2560). ปัจจัยจำแนกการเลือกใช้บริการหรือไม่เลือกใช้บริการสุขภาพ สถานพยาบาลเอกชนที่จะเปิดใหม่ในจังหวัดอุตรดิตถ์ ประเทศไทย, วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 23 (2), 206-221.
อรรถไกร พันธุ์ภักดี. (2558). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะในการสร้างความรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลของรัฐเขตภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 21(1),71-85.
อรรถไกร พันธุ์ภักดี. (2556). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความสามารถทางนวัตกรรมการจัดการความรู้ของสมาชิก เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลของรัฐ เขตภาคเหนือของประเทศไทย, วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร, 8(2),89-98
Ajzen, I., & Fishbein, M. (1980). Understanding attitudes and predicting social behaviour. Prentice-Hall. Englewood Cliffs
Boshoff, C., & Gray, B. (2004). The relationships between service quality, customer satisfaction and buying in tentions in the private hospital industry. South African Journal of Business Management, 35(4), 27-37.
Brekke, K. R., Siciliani, L., & Straume, O. R. (2011). Hospital competition and quality with regulated prices. Scandinavian Journal of Economics, 113(2), 444-469.
Buell, R. W., Campbell, D., & Frei, F. X. (2016). How Do Customers Respond to Increased Service Quality Competition?. Harvard Business School Accounting & Management Unit Working Paper, 18(4), 1-35.
Chaipinit, C. (2016). บทวิพากษ์ทฤษฎีการเลือกอย่างมีเหตุผล: ข้อจำกัดในการสร้างคำอธิบายทาง สังคมศาสตร์. Burapha Journal of Political Economy, 4(1), 51-86.
Douglas, T. J., & Ryman, J. A. (2003). Understanding competitive advantage in the general hospital industry: Evaluating strategic competencies. Strategic Management Journal, 24(4), 333-347.
Gray, B., & Boshoff, C. (2004). The relationships between service quality, customer satisfaction and buying intentions in the private hospital industry. South African Journal of Business Management, 35(4), 27-37.
Harsanyi, John C.(1986).Advance in Understanding Rational Behavior.pp.82-85 in Jon Elster (ed) Rational Choice Oxford: Basil Blackwell ltd
Haward, M. F., & Janvier, A. (2015). An introduction to behavioural decision‐making theories for paediatricians. Acta Paediatrica, 104(4), 340-345
Jennings, N., Clifford, S., Fox, A. R., O’Connell, J., & Gardner, G. (2015). The impact of nurse practitioner services on cost, quality of care, satisfaction and waiting times in the emergency department: A systematic review. International journal of nursing studies, 52(1), 421-435
Lam, S. S. (1997). SERVQUAL: A tool for measuring patients' opinions of hospital service quality in Hong Kong. Total Quality Management, 8(4), 145-152
McKinsey & Company. (2008). Enduring Ideas: The GE–McKinsey nine-box matrix. The McKinsey Quarterly, Retrieved from https://www.mckinseyquarterly.com/Enduring_ideas_The_GE-McKinsey_nine-box_matrix_2198
Owumi, B. E. (2013). Rational choice theory and the choice of healthcare services in the treatment of malaria in Nigeria.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1988). Servqual. Journal of Retailing, 64(1), 12-40.
Ritzer, G., & Stepnisky, J. (2017). Modern sociological theory. Sage publications.
Scott, J. (2000). Rational choice theory. Understanding contemporary society: Theories of the present, 129, 671-85.
Seo, B. K. (2016). Patient waiting: care as a gift and debt in the Thai healthcare system. Journal of the Royal Anthropological Institute, 22(2), 279-295.
Taner, T., & Antony, J. (2006). Comparing public and private hospital care service quality in Turkey. Leadership in Health Services, 19(2), 1-10.
Zarei, E., Daneshkohan, A., Pouragha, B., Marzban, S., & Arab, M. (2015). An Empirical study of the Impact of Service Quality on patient Satisfaction in private Hospitals, Iran. Global journal of health science, 7(1), 1.