การจินตภาพและการสร้างแรงจูงใจกับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

ผู้แต่ง

  • นวลตอง อนุตตรังกูร คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยคริสเตียน

คำสำคัญ:

การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ, การจินตภาพ, การสร้างแรงจูงใจ

บทคัดย่อ

         การจินตภาพคือการจัดการกับความคิดและอารมณ์อย่างเป็นระบบซึ่งเป็นเทคนิคทางจิตวิทยาที่สามารถสร้างแรงจูงใจในการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและการเล่นกีฬา ทำให้เกิดความผ่อนคลายและสร้างแรงจูงใจในการออกกำลังกาย ส่งผลให้เกิดการพัฒนาทักษะและเพิ่มประสิทธิภาพในการออกกำลังกายได้มากขึ้น การจินตภาพควรกระทำควบคู่กับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและต้องกระทำอย่างต่อเนื่องจนเกิดเป็นนิสัยจึงจะเกิดประโยชน์มากที่สุด ดังนั้นการจินตภาพเพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการออกกำลังกายจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อผู้ออกกำลังกาย

References

เจริญ กระบวนรัตน์. (2553). การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพความรู้ที่ยังต้องการความเข้าใจ.สืบค้นเมื่อ 22 มิถุนายน 2561 จาก http://www.anamai.moph.go.th/download/document/ออกกำลังถูกวิธี 20ตามวิถีสมณะ.pdf

ฐิติมา เมืองจันทร์. (2553). แรงจูงใจในการเล่นกรีฑาของนักกีฬาโรงเรียนกีฬา ปีการศึกษา 2551. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยศรีนครินทรวิโรฒ.

ธนากร อ่องสมบูรณ์. (2558). การเปรียบเทียบการจินตภาพการเคลื่อนไหวระหว่างนักกีฬาและไม่ใช่นักกีฬา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา, 15(2), 319-329.

ธร สุนทรายุทธ. (2551). การบริหารจัดการเชิงปฏิรูป : ทฤษฎี วิจัย และปฏิบัติทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัท เนติกุลการพิมพ์ จำกัด.

ธารารัตน์ แสงดาว. (2555). แรงจูงใจที่มีผลต่อการออกกำลังกายของสมาชิกที่มาใช้บริการสถานบริการ คลาคแฮทช์ฟิตเนสเซ็นเตอร์ในเขตจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2553. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

นวลตอง อนุตตรังกูร. (2557). โครงสร้างทางสติปัญญาที่มีผลต่อความสามารถในการจินตภาพและความแม่นยำในการเสิร์ฟแบดมินตัน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยศรีนครินทรวิโรฒ.

นิพนธ์ วิชชุตเวส. (2551). ผลของการออกกำลังกายแบบต่อเนื่องและแบบสะสมที่มีต่อการใช้พลังงาน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยศรีนครินทรวิโรฒ.

บุญรัตน์ โง้วตระกูล, เสรี ชัดแช้ม และ ปรัชญา แก้วแก่น. (2560). การเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาและความเร็วในการลุกขึ้นยืน. วิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา, 15(2), 53-68.

มนัสสิริ คงรัศมี. (2556). การพัฒนาแบบวัดการจินตภาพในการออกกำลังกาย ฉบับภาษาไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมคิด สวนศรีและปราจิต ทิพย์โอสถ. (2556). ความต้องการออกกำลังกายของประชาชนในเขตองค์การ บริหารส่วนตำบล จังหวัดปทุมธานี. (รายงานผลการวิจัย). ปทุมธานี : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคงธัญบุรี.

สมบัติ กาญจนกิจ และสมหญิง จันทรุไทย. (2542). จิตวิทยาการกีฬา แนวคิด ทฤษฏี สู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ส่านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สืบสาย บุญวีรบุตร และคณะ. (2552). เอกสารประกอบการสอน จิตวิทยาการกีฬา. ชลบุรี : คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุธาศินี เวชพราหมน์ มยุรี ศุภวิบูลย์ และพิชิต เมืองนาโพธิ์. (2555). ผลของการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติและการจินตภาพที่มีผลต่อความสามารถในการยิงประตูโทษบาสเกตบอล. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ. 13(3), 21-29.

อนุศักดิ์ สุคง. (2552). แรงจูงใจในการเล่นกีฬาฟุตซอลของนักกีฬาที่เข้าร่วมการแข่งขันไทยแลนด์ฟุตซอลลีก 2009 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยศรีนครินทรวิโรฒ.

อาพรรณวรรณ โสภณธรรมรักษ์. (2557). การออกกำลังกายในวัยต่างๆ. สืบค้นจาก http://www. thaihealth.or.th/Content/25238-การออกกำลังกายในวัยต่างๆ.html

Cumming, J., and Ramsey, R. (2010). Imagery interventions in sport. In Mellalieu, S. and Hanton, S. (Ed.), Advances in applied sport psychology: A review. New York, NY: Routledge.

Duncan, L. R., Hall, C. R., Wilson, P. M., & Rodgers, W. M. (2012). The use of a mental imagery intervention to enhance integrated regulation for exercise among women commencing an exercise program. Motivation & Emotion, 36(4), 452-464.

Edmunds, J. M., Ntoumanis, N. K., & Duda, J. L. (2008). Testing a self-determination theorybased teaching style intervention in the exercise domain. European Journal of Social Psychology, 38(2), 375-388.

Gammage, K. L., Hall, C. R., & Rodgers, W. M. (2000). More about exercise imagery. The Sport Psychologist, 14 (4), 348-359.

Hall, C. R. (2001). Imagery in sport and exercise. In R. N. Singer, H. A., Hausenblas, & C. M. Janelle (Eds.), Handbook of sport psychology (2nd ed.) New York: John Wiley & Sons.

Hausenblas, H. A., Hall, C. R., Rodgers, W. M., & Munroe, K. J. (1999). Exercise imagery: Its nature and measurement. Journal of Applied Sport Psychology, 11(2), 171-180.

Khongrassame, M., & Singnoy, C. (2012). Exercise imagery questionnaire: The literature review on exercise imagery. In Presented at the 4th international conference on sport and exercise science well-being well beyond sport and exercise. n.p.

Stanley, D. M., Cumming, J., Standage, M., & Duda, J. L. (2012). Images of exercising: Exploring the links between exercise imagery use, autonomous and controlled motivation to exercise, and exercise intention and behavior. Psychology of Sport and Exercise, 13(2), 133-141.

Vealey, R.S., and Greenleaf, C.A. (2010). Seeing is believing: Understanding and using imagery in sport. In J.M. Williams (Ed.), Applied sport psychology: Personal growth to peak performance. Boston: McGraw-Hill Higher Education.

White, A., & Hardy, L. (1998). An in-depth analysis of the uses of imagery by high-level slalom canoeists and artistic gymnasts. The Sport Psychologist, 12(4), 387-403.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-05-29