ความสะอาดและการปลอดเชื้อของลูกยาง แดงที่ใช้ในการผ่าตัดกระดูกและข้อของโรง พยาบาลในภาคตะวันออกของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • Yutthana Khanasuk Department of Orthopaedics, Queen Savang Vadhana Memorial Hospital, Sriracha, Chonburi, Thailand
  • Nattawut Sastravaha
  • Surapon Atiprayoon
  • Worasun Taweewuthisub
  • Suwimol Chooprayoon

คำสำคัญ:

ลูกยางแดง, ความสะอาด, ปลอดเชื้อ

บทคัดย่อ

บทนำ ลูกยางแดงเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการผ่าตัดกระดูกและข้อ โดยเฉพาะในโรงพยาบาลต่างจังหวัด ศัลยแพทย์
บางท่านไม่เลือกใช้ลูกยางแดงเนื่องจากไม่มั่นใจในความสะอาดและการปลอดเชื้อของมัน
วัตถุประสงค์ เพื่อพิสูจน์ความสะอาดและการปลอดเชื้อของลูกยางแดงที่ใช้เป็นประจำ
วัสดุและวิธีการ ผู้วิจัยสุ่มตัวอย่างลูกยางแดงร้อยละ 20 ของลูกยางแดงที่ใช้จริงในห้องผ่าตัดของโรงพยาบาล
รัฐบาลที่สามารถผ่าตัดกระดูกและข้อได้ ในเขตภาคตะวันออกของประเทศไทย จากนั้น นำลูกยางแดงดังกล่าว
มาผ่าดูพื้นผิวด้านใน ถึงความสะอาด และป้ายผนังของผิวด้านในส่งเพาะเชื้อแบคทีเรีย
ผลการศึกษา มีโรงพยาบาลที่ยังใช้ลูกยางแดงในการผ่าตัดกระดูกและข้อจำนวน 9 โรงพยาบาล ได้จำนวนตัวอย่าง
52 ชิ้น หลังจากการผ่าดูด้านใน ส่วนมาก พบว่ามีน้ำใสๆ ปริมาณเล็กน้อยขังอยู่ด้านใน บางชิ้นพบจุดสกปรก
ที่น่าสนใจคือจุดสกปรกคล้ายก้อนเลือดอยู่ด้านใน แต่อย่างไรก็ดี ผลการเพาะเชื้อได้ผลลบทั้งหมด
สรุป ลูกยางแดงไม่สามารถทำความสะอาดได้อย่างสมบูรณ์ แม้ว่าสิ่งสกปรกที่พบจะปลอดเชื้อ แต่ศัลยแพทย์ควร
ใช้ความระมัดระวังในการใช้อุปกรณ์นี้ในการผ่าตัด

References

1. Vatanasapt V, Areemit S, Jeeravipoolvarn P,
Kuyyakanond T, Kuptarnond C. Red rubber
bulb, cheap and effective vacuum drainage.
J Med Assoc Thai.1989; 72: 193-7.

2. Suprasuwankuk W, Nitrat N. Rubber bulb
syringe using in surgery: How to safely reuse
and resterilize? Lampang Med J. 2011; 32:
89-96.

3. Ryan P. OR and central service question and
answers. Hospital Topics. 2010; 61: 32-7.

4. Muñoz-Mahamud E, García S, Bori
G, Martínez-Pastor JC, Zumbado JA, Riba
J, Comparison of a low-pressure and
a high-pressure pulsatile lavage during
débridement for orthopaedic implant
infection. Arch Orthop Trauma Surg. 2011;
131: 1233-8.

5. Gamaletsou MN, Rammaert B, Bueno MA,
Moriyama B, Sipsas NV, Kontoyiannis DP, et
al. Aspergillus osteomyelitis: epidemiology,
clinical manifestations, management, and
outcome. J Infect. 2014; 68: 478-93.

6. Bariteau JT, Waryasz GR, McDonnell M,
Fischer SA, Hayda RA, Born CT. Fungal
osteomyelitis and septic arthritis. J Am Acad
Orthop Surg. 2014; 22: 390-401.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-04-27