การเตรียมความพร้อมนักศึกษาพยาบาล สำหรับการฝึกปฏิบัติในคลินิกฝากครรภ์ตามแนวคิด VARK
Main Article Content
บทคัดย่อ
การเตรียมความพร้อมก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติบนคลินิกฝากครรภ์ เพื่อช่วยให้นักศึกษาพยาบาลเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความมั่นใจ ลดความเครียดหรือวิตกกังวล มีเจตคติและผลสัมฤทธิ์ที่ดีในการฝึกปฏิบัติวิชาการพยาบาลมารดาทารก เป็นบทบาทสำคัญของผู้สอนในการออกแบบกระบวนการเตรียมความพร้อมที่มีประสิทธิภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีความชอบ หรือถนัดในการรับข้อมูลแตกต่างกัน
บทความนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเสนอรูปแบบการเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติบนคลินิกฝากครรภ์ ประกอบด้วย การเตรียมความพร้อมด้านความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารกในระยะตั้งครรภ์โดยใช้แนวคิดการเรียนรู้ VARK ซึ่งเป็นรูปแบบการสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านภาพและสัญลักษณ์ เสียง การอ่าน การเขียน การสัมผัส และการลงมือกระทำเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ด้านความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติการพยาบาลก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติบนคลินิกฝากครรภ์ของนักศึกษาพยาบาล
Downloads
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลที่เผยแพร่ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้นิพนธ์บทความโดยตรง บทความ เนื้อหา ข้อมูล รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารนี้ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารฯ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องอ้างอิงวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี ทุกครั้ง
References
กัญญ์ชิสา สุนทรมาลัย. (2560). ปัจจัยทำนายและแนวทางลดความเครียดในการฝึกภาคปฏิบัติวิชาการพยาบาลมารดา-ทารก และการผดุงครรภ์ 1 ของนักศึกษาพยาบาลตำรวจ วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ. วารสารพยาบาลตำรวจ, 9(2), 128-138.
จงกลณี ตุ้ยเจริญ, ปรางทิพย์ ทาเสนาะ เอลเทอร์, อำไพ หมั่นสระเกษ, อิสราวรรณ สนธิภูมาส, และทรงสุดา หมื่นไธสง. (2563). รูปแบบการเรียนรู้แบบวาร์คของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตในวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 29(6), 1073-1085.
จีระวรรณ ศรีจันทร์ไชย, และวสันต์ ศรีแดน. (2564). ผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลต่อความเครียดและการรับรู้สมรรถนะการปฏิบัติการพยาบาลรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นของนักศึกษาพยาบาล. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(3), 59-73.
ทิศนา แขมมณี. (2551). ลีลาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธารีวรรณ ไชยบุญเรือง, และสุสัณหา ยิ้มแย้ม. (2556). สมรรถนะในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ของนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรนานาชาติ. วารสารสภาการพยาบาล, 28(3), 55-67.
นิกร จันภิลม, ศตพล กัลยา, ภาสกร เรืองรอง, และรุจโรจน์ แก้วอุไร. (2562). เทคโนโลยีการศึกษาในยุคThailand 4.0. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 11(1), 304-314.
นงณภัทร รุ่งเนย, และจันทร์จิรา สีสว่าง. (2559). ผลของการส่งเสริมการพัฒนาตนเองเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึกภาคปฏิบัติต่อความรู้และทักษะการปฏิบัติการพยาบาลในหอผู้ป่วยหนักของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 27(2), 29-38.
ปุณยนุช พิมใจใส, และนงนภัส วงษ์จันทร. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์ 1 ของนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก, 19(1), 154-163.
พักตร์วิไล ศรีแสง, อัมพรพรรณ ธีรานุตร, จุฬาภรณ์ โสตะ, จุฬาภรณ์ ตั้งภักดี, และจารุณี สรกฤช. (2563). การสังเคราะห์งานวิจัยเรื่องความเครียดของนักศึกษาพยาบาล. วารสารสุขศึกษา, 43(2), 18-32.
พูลทรัพย์ ลาภเจียม. (2562). ผลของการเตรียมความพร้อมก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติงานต่อความรู้และทักษะการปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารกและผดุงครรภ์ ของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี เชียงใหม่. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์, 9(2), 42-54.
มาลีวัล เลิศสาครศิริ, และแก้วตะวัน ศิริลักขณานันท์. (2559). ประสิทธิผลชุดการเรียนรายวิชาการผดุงครรภ์ 1. วารสารพยาบาลทหารบก, 17(1), 26-35.
ยุพาภรณ์ ติรไพรวงศ์, เสมอจันทร์ ธีระวัฒน์สกุล, ศรีสุนทรา เจิมวรพิพัฒน์, และพัชรี วัฒนชัย. (2560). การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ VARK ต่อความรู้และความสุขในการเรียนของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ, 33(2), 1-13.
วรรณวดี เนียมสกุล. (2558). การประเมินภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในภาวะตั้งครรภ์ปกติ.อุตรดิตถ์: พีออฟเซ็ทอาร์ท.
วรรณวดี เนียมสกุล, และภิญญารัช บรรเจิดพงศ์ชัย. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนบนคลินิกฝากครรภ์โดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบ VARK ในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์ 1. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 8(2), 20-36.
ศศิกานต์ กาละ, และวรางคณา ชัชเวช. (2559). ผลของโปรแกรมเตรียมความพร้อมด้านการผดุงครรภ์ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่อทักษะการตัดสินใจทางคลินิกและความสำเร็จในการสอบประมวลความรอบรู้ของนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 36(3), 182-196.
ศุภรัตน์ แจ่มแจ้ง, วิรดา อรรถเมธากุล, และดวงแข พิทักษ์สิน. (25561). ผลของการเตรียมความพร้อมในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลบนหอผู้ป่วยอย่างมีแบบแผนสำหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์บัณฑิตชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 20(3), 147-163 .
ศักดิ์คเรศ ประกอบผล. (2563). การคิดวิเคราะห์ผู้เรียน: ลีลาการเรียนรู้. ครุศาสตร์สาร, 2(14), 1-14.
สิรารักษ์ ศรีมาลา, และรุ่งทิวา หวังเรืองสถิตย์. (2558). ผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลต่อการจัดการเรียนการสอนการพยาบาลทารกแรกเกิดแบบ VARK learning style. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 24(4), 754-759.
สิริทรัพย์ สีหะวงษ์, ณิชกานต์ ฝูงดี, ณัฐธิดา ยานะรมย์, ณัฐนรี น้อยนาง, ณัฐมล อาไนย์, ตุลาภรณ์ บุญเชิญ, ทริกา จอดนอก, ทัตติยา สุริสาร, และธัญญาเรศ พ่อยันต์. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสาร มฉก.วิชาการ, 21(42), 93-106.
สืบตระกูล ตันตลานุกุล, และปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์. (2560). ความเครียดและการจัดการความเครียดของนักศึกษาพยาบาล. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 9(1), 81-92.
Alkhasawneh, E. (2013). Using VARK to assess changes in learning preferences of nursing students at a public university in Jordan: Implication for teaching. Nurse Education Today, 33(12), 1546-1549.
Biradar, V., Thorat, M. P., & Vaidya, M. M. (2020). Assess the Visual, Auditory, Kinesthetic (VAK) learning styles among first year basic B.Sc. nursing students. Asian Journal of Nursing Education and Research, 10(4), 422-426. doi:10.5958/2349-2996.2020.00090.
Curry, L. (1981). Learning preferences and continuing medical education. Canadian Medical Association Journal, 124(5), 535-536.
Felder, R. M. (1993). Reaching the second tier: Learning and teaching styles in college science education. Journal of College Science Teaching, 23(5), 285-290.
Fleming, N. (2010). VARK classification of learning styles. Retrieved from http://www.vark-learn.com.
Li, Y., Medwell, J., Wray, D., Wang, L., & Liu, X. (2016). Learning styles: A review of validity and usefulness. Journal of Education and Training Studies, 4(10), 90-94.
Sinaga, J., Siregar, R., Amila, A., & Sembiring, R. (2018). The VARK learning style of nursing and midwifery students. Indonesian Nursing Journal of Education and Clinic (INJEC), 2(2), 158-161.