Analysis of international academic work of Industrial Chemistry Department, Faculty of Science, Chiang Mai University
DOI:
https://doi.org/10.14456/jmu.2024.34Keywords:
academic work, quality academic journals, descriptive statisticsAbstract
The purpose of this study was to analysis of international academic works of the Department of Industrial Chemistry, Faculty of Science, Chiang Mai University. The research population is the academic works of the Department of Industrial Chemistry staff which was published during 2018-2022 in Scopus. A search engine of database with scope of affiliation was used for collecting data. All data were analyzed using descriptive statistics such as frequency, percentage, data sorting, displayed with graphs and tables.
The results showed that 80 academic works of the Department of Industrial Chemistry staff were published in the Scopus database. 5.2% of works were citations per publication, which are research articles in journals. The highest 56.25% in the field of materials science with keyphrase of lithium battery were referred. Mostly, the articles were published in the quality academic journals, middle – low position (Q3) and bottom position (Q4). The authors are both inside and outside of Industrial Chemistry within Faculty of Science and Chiang Mai University. The maximum cooperation is Chulalongkorn University without invention, innovation or intellectual properties.
References
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2565,12 กรกฎาคม). รายงานบุคลากรสายวิชาการ สรุปจำนวนจำแนกตามวุฒิการศึกษาและตำแหน่งทางวิชาการ ประจำเดือนกรกฎาคม ปี 2565. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. https://epg.science.cmu.ac.th/sciemployment/index.php/
ทัศน์วรรณ เทพสุวรรณ์. (2565). การศึกษาผลสัมฤทธิ์การผลิตบัณฑิตและแนวทางการเพิ่มจำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารวิชาการ ปขมท., 11(2), 103-110.
ประกาศ ก.พ.อ. หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ พ.ศ.2564. (2565). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 139 ตอนพิเศษ 4 ง. 22-50.
พิเชษฐ์ เทพสุวรรณ์. (2564). การวิเคราะห์บทความวิจัยของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้รับการเผยแพร่ในวารสารวิชาการในฐานข้อมูล Scopus และ Web of Science. วารสารวิชาการ ปขมท., 10(3), 186-194.
ภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2565). เอกสารประกอบการสัมมนาภาควิชาเคมีอุตสาหกรรม ประจำปี 2565 [เอกสารไม่ได้ตีพิมพ์]. คณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มาเกรตตา โจแอน. (2562). หลักคิดเรื่องกลยุทธ์และการแข่งขัน (ฉบับปรับปรุง). เอ็กซเปอร์เน็ท.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2565, 12 กรกฎาคม). มช.ปรับแผนพัฒนาการศึกษาฯ ระยะที่ 12 มุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนด้วย SDGs. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.https://sdgs.cmu.ac.th/
ศรัณย์ วีรเมธาชัย. (2565). การศึกษาความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียด ภาวะซึมเศร้า และภาวะหมดไฟจากการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลสระบุรี ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกที่ 3. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 12(1), 65-81.
ศรีสกุล เฉียบแหลม และ เพ็ญนาภา แดงด้อมยุทธ์. (2562). ภาวะหมดไฟในการทํางาน. แพทยสารทหารอากาศ, 65(2), 44-52.
สัญญา เคณาภูมิ. (2562ก). ถอดรหัสการสร้างกรอบแนวคิดการวิจัยและการสร้างกลยุทธ์จากฐานการวิจัย. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สัญญา เคณาภูมิ. (2562ข). หลักการและแนวทางการสังเคราะห์งานวิชาการ. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น. 3(2). 89-106.
สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2558). เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ ฉบับปี 2558-2561. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2565, 12 กรกฎาคม). ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์. สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. https://library.cmu.ac.th/DatabaseStore/
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 Mahidol R2R e-Journal

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความลิขสิทธิ์ (Copyright text)
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร Mahidol R2R e-Journal กองทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล อนุญาตให้นำข้อความ เนื้อหา รูปภาพ ไปพิมพ์เผยแพร่ได้ แต่ห้ามนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ หรือมีเจตนาเอื้อผลประโยชน์ในทางธุรกิจใดๆ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ความรับผิดชอบ องค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflicts of Interest)
ผู้ประพันธ์ต้องเปิดเผยเป็นลายลักษณ์อักษร (ระบุในรายงาน)ถึงทุกปัจจัยรวมทั้งปัจจัยด้านการเงินที่อาจมีอิทธิผลต่อ การศึกษาผลการศึกษาหรือข้อสรุปจากรายงานการศึกษาวิจัย และจำเป็นต้องระบุหากได้รับการสนับสนุนทางการเงินจาก แหล่งทุนภายนอกเพื่อให้สอดคล้องกับคำประกาศของบรรณาธิการ ผู้ร่วมประพันธ์ทุกท่านต้องมีส่วนร่วมในผลงานการศึกษาวิจัย และควรมีการระบุไว้อย่างชัดเจนในหนังสือปะหน้าประกอบการส่งเรื่องที่จะตีพิมพ์ รวมทั้งระบุไว้ในส่วนของกิตติกรรมประกาศ (acknowledgements) ในตอนท้ายของรายงานต้นฉบับ