The Study of Satisfaction to Service: The Case Study in the Office of Institutional Review Board Faculty of Dentistry/Faculty of Pharmacy Mahidol University.
DOI:
https://doi.org/10.14456/jmu.2020.6Keywords:
Satisfaction, ServiceAbstract
The purpose of this study was to Satisfaction in Service: The case study in the office of the committee research ethic of Faculty of Dentistry Faculty of Pharmacy Mahidol University. The sample were in this study include research protocol summited to the ethic committee of the Faculty of Dentistry and Faculty of the Pharmacy, Mahidol university, Institutional Review Board in year 2015 (October 2014-September 2015) they are totally 68 persons. The instrument of this study consisted Rating Scale. Data analyzed using descriptive statistic.
The results of the study indicated that research protocol summited to the ethic committee are very satisfied score 4.76, In service orientation score 4.86, knowledge about the service score 4.82 and the process of providing service score 4.58 and compare the average levels of satisfaction with the process of providing service, knowledge about the service And service orientation between sex and status were not different (p> 0.05).
References
2. ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2549). การตลาดบริการ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
3. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2554). ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2561, http://www.royin.go.th/dictionary/.
4. รวีวรรณ โปรยรุ่งโรจน์. (2551). จิตวิทยาการบริการ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
5. รุจิรา ริคารมย์. (2562). แนวทางการพัฒนาคุณภาพการให้บริการหน่วยจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. Vol. 11 (2) หน้า 166-188.
6. ศิรินทรา รอมลี. (2554). ปัจจัยทีมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของผู้ป่วยที่มรับบริการใรคลินิกนอกเวลา ณ ห้องจ่ายยาผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลบางบ่อ จังหวัดสมุทราปราการ. ภาคนิพนธ์ สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
7. สมิต สัชฌุกร (2550). การต้อนรับและบริการที่เป็นเลิศ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สายธาร.
8. สุกัญญา พิมพาเรือ (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในงานกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การพยาบาลวิชาชีพ สังกัดสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอกบริหารสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล.
9. สุทธิศรี ม่วงสวย. (2550). การศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการงานทะเบียน สำนักบริการทางวิชากรและทดสอบ ศูนย์กลางสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. สารนิพนธ์ กศ.ม. (การวัดผลการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
10. สอ เสถบุตร. (ม.ป.ป.) พจนานุกรมอังกฤษไทย. ค้นเมื่อ 15 มกราคม 2561, จากhttp://sec.satit.kku.ac.th/lib/?p=238.
11. อารี ลือกลาง. (2555). ระดับความพึงพอใจและความคาดหวังในการให้บริการของบุคลากรกองประปา องค์การบริการส่วนตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา. โครงงานวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรสุรนารี.
12. อนุสรา ต๊ะพรหม และคณะ. (2559). กระบวนการและผลลัพธ์การดำเนินงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. Nursing Journal Volume 43 July-September 2016: หน้า 81-89.
Downloads
Published
Issue
Section
License
ข้อความลิขสิทธิ์ (Copyright text)
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร Mahidol R2R e-Journal กองทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัยมหิดล อนุญาตให้นำข้อความ เนื้อหา รูปภาพ ไปพิมพ์เผยแพร่ได้ แต่ห้ามนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ หรือมีเจตนาเอื้อผลประโยชน์ในทางธุรกิจใดๆ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ความรับผิดชอบ องค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
ผลประโยชน์ทับซ้อน (Conflicts of Interest)
ผู้ประพันธ์ต้องเปิดเผยเป็นลายลักษณ์อักษร (ระบุในรายงาน)ถึงทุกปัจจัยรวมทั้งปัจจัยด้านการเงินที่อาจมีอิทธิผลต่อ การศึกษาผลการศึกษาหรือข้อสรุปจากรายงานการศึกษาวิจัย และจำเป็นต้องระบุหากได้รับการสนับสนุนทางการเงินจาก แหล่งทุนภายนอกเพื่อให้สอดคล้องกับคำประกาศของบรรณาธิการ ผู้ร่วมประพันธ์ทุกท่านต้องมีส่วนร่วมในผลงานการศึกษาวิจัย และควรมีการระบุไว้อย่างชัดเจนในหนังสือปะหน้าประกอบการส่งเรื่องที่จะตีพิมพ์ รวมทั้งระบุไว้ในส่วนของกิตติกรรมประกาศ (acknowledgements) ในตอนท้ายของรายงานต้นฉบับ