การประยุกต์ใช้สถิตินอนพาราเมตริกสำหรับการวิจัย
DOI:
https://doi.org/10.14456/jmu.2024.14คำสำคัญ:
สถิตินอนพาราเมตริก, การประยุกต์ใช้สถิตินอนพาราเมตริก, การวิจัยบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกใช้สถิตินอนพาราเมตริกสำหรับการวิจัย สถิตินอนพาราเมตริกง่าย สะดวก และมีข้อจำกัดน้อย เป็นสถิติที่สามารถนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวางเพราะเป็นสถิติทดสอบที่ไม่คำนึงลักษณะการแจงแจงข้อมูลของประชากรข้อมูลที่นำมาทดสอบ ไม่ต้องตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้นใช้ได้กับข้อมูลทุกลักษณะการแจกแจง ขนาดตัวอย่างจะเล็กหรือใหญ่ก็ใช้ได้ มาตรวัดข้อมูลเริ่มตั้งแต่มาตรวัดนามบัญญัติขึ้นไป และมีสถิตินอนพาราเมตริกให้เลือกใช้หลายตัวเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัย ในปัจจุบันสามารถใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนั้นการทำวิจัยควรเลือกใช้สถิติให้เหมาะสมกับข้อมูลเพื่อให้การวิเคราะห์และแปลผลรวมทั้งงานวิจัยมีประสิทธิภาพ
References
กวิศรา เอี่ยมบรรณพงษ์, อริสรา เพชรเก่า, และ สุริยา หล่าโสภา. (2565). ความคิดเห็นของอาจารย์แพทย์และแพทย์ประจำบ้านที่มีต่อหุ่นจำลองฝึกทักษะการใส่เฝือกแขนตามทฤษฎีการแพร่กระจายนวัตกรรม. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 9(2), 22-31.
กัลยา วานิชบัญชา. (2540). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติเพื่อการตัดสินใจ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เกยูร วงศ์ก้อม. (2021). การพัฒนาชุดส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาและ การสื่อสารเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินในระยะแรกเริ่ม. วารสารวิทยาลัยราชสุดา, 17(2), 49-63.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2553). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 12). ไทเนรมิตกิจ อินเตอร์โปรเกรสซิฟ จำกัด.
ฐิติมา วัชรเขื่อนขันธ์, จงจิต เสน่หา, คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล, และ กฤติยา กอไพศาล. (2564). ผลของการควบคุมอุณหภูมิบริเวณที่ให้ยาออกซาลิพลาตินต่ออาการปวดหลอดเลือดดำในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และ ทวารหนัก. วารสารสภาการพยาบาล, 36(3), 103-117.
ธีระวัฒน์ ช่างปัด และ สุมลชาติ ดวงบุบผา. (2565). การศึกษาเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายและเวลาในการจัดสอบ OSCE แบบปกติและการสอบ OSCE แบบดัดแปลงในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 9(3), 77-89.
บาล ชะใบรัมย์ และ อมรเทพ วันดี. (2565). การเปรียบเทียบรูปแบบการสอนของเดวีส์ และการสอนแบบปกติที่มีต่อทักษะการเคลื่อนไหวของเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล 3 จังหวับุรีรัมย์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 19(1), 99-108.
พเยาว์ พงษ์ศักดิ์ชาติ, พรรณภา เรืองกิจ, วราภรณ์ ภูคา, และ อัจฉริยา เจริญเกียรติ. (2565). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของนักศึกษาพยาบาล:กรณีศึกษาฝึกปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุที่มีปัญหาทางสุขภาพจิตในชุมชน. วารสารการพยาบาลจิตเวชและ สุขภาพจิต, 36(1), 148-170.
พีสสลัลฌ์ ธำรงค์วรกุล. (2565). ผลของโปรแกรมฝึกอบรมการปรึกษาเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและเจตคติต่อการปรึกษา. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, 5(1), 172-198.
เพ็ญแข สุขสถิต, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, และ อรพรรณ โตสิงห์. (2564). ผลของโปรแกรมการสร้างความรอบรู้ทางสุขภาพต่อพฤติกรรมการล้างมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยวิกฤต. วารสารสภาการพยาบาล, 36(2), 32-48.
ภรภัค วงศ์อรุณ และ นฤมล พระใหญ่. (2565). ผลของโปรแกรมการให้คำปรึกษากลุ่มแบบผสมผสานที่มีต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของนิสิตวิชาชีพครู. วารสารการวัดผลการศึกษา, 38(104), 245-257.
ยุทธ ไกยวรรณ์. (2551). วิเคราะห์ข้อมูลวิจัย 4 (STEP BY STEP SPSS 4). พิมพ์ดี
รุ่งโรจน์ ศรีจันทร์แก้ว. (2547). การศึกษาเปรียบเทียบอำนาจการทดสอบ (Power of Test) ของการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบแผนการวิเคราะห์แบบกลุ่มสุ่ม (RBD) กับแบบแผนการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (ANCOVA). ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การวิจัยและสถิติทางการศึกษา). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ลัชชา ชุณห์วิจิตรา และ ณัฐณี แต้สกุล. (2563). การสำรวจสภาพปัญหาของนิสิตบัณฑิตศึกษานานาชาติ คณะเภสัชศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในช่วงปิดสถานศึกษาชั่วคราวจากการแพร่ระบาดของการติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่COVID-19. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 7(1), 159-173.
วัฒนา สุนทรชัย. (2543). เรียนสถิติด้วย SPSS ภาคสถิติไม่อิงพารามิเตอร์. วิทยพัฒน์.
วันฤดี สุขสนวง และ วัฒนา ชยธวัช. (2565). การวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนนักศึกษาวิชาการบัญชีเพื่อการจัดการใสถานการณ์โควิด-19. วารสารรัชตภาคย์, 16(45), 414-427.
ศักดิ์ชัย จันทะแสง. (2566). การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัยในการทำผลงานทางวิชาการของบุคลากรสายสนับสนุน. วารสารวิชาการ ปขมท, 12(2), 1-10.
ศิริชัย กาญจนวาสี, สุวิมล ติรกานันท์, และ ศิริเดช สุชีวะ. (2543). การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ SPSS สำหรับงานวิจัย: การวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมาย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศรศิรี ประพฤติธรรม, นพวรรณ ขำโอด, สมพร บุญธนพร, ณัฐสุดา แก้วเงิน, และ สายรุ้ง ลาดเพ็ง. (2562). การศึกษานำร่องผลของโปรแกรมการดูแลตนเองด้วยมณีเวชต่อปัญหาสุขภาพและสมดุลโครงสร้างร่างกายของสมาชิกชมรมออกกำลังกาย ตำบลหอกลองอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 6(1), 59-73.
ศิริลักษณ์ สุวรรณวงศ์. (2560). สถิติไม่ใช่พารามิเตอร์ : เอกสารคำสอนวิชา SCMA 384. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
สุชาดา บวรกิตติวงศ์. (2561). สถิติที่ไม่ใช้พารามิเตอร์. เอกสารคำสอนวิชา 2758603 สถิตินอนพาราเมตริกในการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สายชล สินสมบูรณ์ทอง. (2552). สถิติที่ไม่ใช้พารามิเตอร์, บริษัทจามจุรีโปรดักส์.
สุรฉัตร อโนทัย, พิชญาณี พูนพล, และ อังศินันท์ อินทรกำแหง. (2565). ผลของโปรแกรมการให้คำปรึกษาแบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างทักษะทางสังคมของผู้ป่วยจิตเภท. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 28(2), 137-154.
อุไรวรรณ อมรนิมิต, ณัฐสินี แสนสุข, และ ธนูศักดิ์ รังสีพรหม. (2565). การศึกษาความสุขในชีวิตของผู้สูงอายุ. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลตะวันออก, 11(1), 116-127.
ฮาซาน๊ะ สลีฝีน, ทวีศักดิ์ วงศ์กีรติเมธาวี, จิรวัฒน์ ทิววัฒน์ปกรณ์ สินีนาฎ สุขอุบล, และ พัฒนสิน อารีอุดมวงศ์. (2564). ประสิทธิผลของโปรแกรมการออกกำลังกายโดยใช้เท้าเขียนหนังสือกลางอากาศกับการออกกำลังกายทั่วไปในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 8(2), 76-89.
Anand, V. V., Yogaraj, G. A., Priya, S., Raj, P. P., Priyadharshini, C. B., & Sridevi, P. N. (2021). A cross-sectional study on COVID19 mortality among people below 30 years of age in Tamilnadu-2020. Clinical Epidemiology and Global Health, 12, 100827. https://doi.org/10.1016/j.cegh.2021.100827
Demir, A. (2022). The Impact of Gaming on Fear of Missing Out: The Case of Bahcesehir University E-Sports Team. International Education Studies, 15(2), 130-137.
Gravetter, F. J., & Forzano, L. B. (2012). Research Methods for the Behavioral Sciences (4th ed.). Wadsworth.
Kalykbayeva, A., Satova, A., Autayeva, A., Ospanova, A., Suranchina, A., & Elmira, U. (2021). Using Self-Assessment Instruction to Develop Primary School Students' Self-Esteem in Inclusive Practice in Kazakhstan. Cypriot Journal of Educational Sciences, 16(4), 1631-1642.
Ogegbo, A. A., & Ramnarain, U. (2022). Teaching and learning Physics using interactive simulation: A guided inquiry practice. South African Journal of Education, 42(1), 1-9.
Pett, M. A. (2015). Nonparametric statistics for health care research: Statistics for small samples and unusual distributions. Sage
Renkema, R. W., van Beelen, I., Koudstaal, M. J., & Caron, C. J. (2022). The effect of natural growth on chin point deviation in patients with unilateral craniofacial microsomia: A retrospective study. Journal of Cranio-Maxillofacial Surgery, 50(8), 615-620.
Runyon, R. P. & Haber, A. (1988). Fundamentals of behavioral statistics. Reading, Addison-Uesley.
Sprent, P., & Smeeton, N. C. (2016). Applied nonparametric statistical methods. CRC press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Mahidol R2R e-Journal
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.