ประสิทธิผลของโปรแกรมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลท่านางงาม อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก

ผู้แต่ง

  • มนัสศักต์ มากบุญ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก
  • สมตระกูล ราศิริ วิทยาลัยการสาธารณสุขสินรินธร

DOI:

https://doi.org/10.14456/jmu.2023.15

คำสำคัญ:

โปรแกรมป้องกันโรค, ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง, การมีส่วนร่วมของชุมชน, พรีซีด-โพรซีด โมเดล

บทคัดย่อ

          การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างโปรแกรมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน และ 2) เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ประชากรที่ศึกษา คือกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในตำบลท่านางงาม อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 320 คน ที่ได้จากการเลือกตัวอย่างแบบใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (simple random sampling) กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมในโปรแกรมป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มพัฒนาโปรแกรม จำนวน 18 คน และกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมโปรแกรม จำนวน 96 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ตามขั้นตอนแนวคิดพรีซีด-โพรซีดโมเดล ของกรีนและกรูเตอร์ (Green & Kreuter, 2005) โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative research method) และเชิงคุณภาพ (qualitative research method)

          ผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมสามารถเปลี่ยนแปลงความรู้และพฤติกรรมการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง จากเดิมร้อยละ 12.50 เป็นร้อยละ 82.29 ด้านการออกกำลังกาย มีระดับพฤติกรรมการออกกำลังกายประจำเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 6.25 เป็นร้อยละ 85.41 ด้านการบริโภคอาหาร มีระดับพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเป็นประจำเพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 15.62 เป็นร้อยละ 90.62 ระดับความดันโลหิต มีระดับความดันโลหิต ก่อนดำเนินโปรแกรมอยู่ในระดับเสี่ยงจากเดิม ร้อยละ 67.70 ภายหลังดำเนินการตามโปรแกรมกลุ่มตัวอย่างมีระดับความดันเป็นปกติ ร้อยละ 77.08 คงเหลืออยูในระดับเสี่ยง ร้อยละ 22.91 และน้ำหนักของกลุ่มตัวอย่าง มีระดับดัชนีมวลกายก่อนอ้วน ร้อยละ 41.66 ภายหลังดำเนินโปรแกรมเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 43.75 โดยเปลี่ยนเป็นปกติ ร้อยละ 3.12 ส่วนอ้วนระดับ 1 ลดลงจากเดิมร้อยละ 34.37 เป็นร้อยละ 32.29 และอ้วนระดับ 2 ลดลงจากเดิมร้อยละ 21.87 เป็นร้อยละ 20.83 ได้

          ดังนั้น จึงควรนำโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นนี้ไปประยุกต์ใช้สำหรับประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่อื่นต่อไป 

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2553). แนวทางดำเนินงาน “โครงการสนองพระราชหฤทัยในหลวง ทรงห่วงใยสุขภาพประชาชน” เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสที่จะทรงเจริญพระชนมพรรษา 84 พรรษา 5 ธันวาคม 2554. องค์การทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมถ์.

กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2558). ศัพท์และความหมายของคำในวงการเคลื่อนไหวร่างกายและการออกกำลังกาย. ใน สมชาย สี่ทองอิน และนวลศรี วิจารณ์ (บรรณาธิการ). โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

ขวัญใจ ผลศิริปฐม. (2554). พฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงของกลุ่มเสี่ยงสูงในเขตตำบลวังตะกอ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. สาขาวิชา สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

คณะทำงานจัดทำบัญชีรายจ่ายสุขภาพ. (2558). บัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย พ.ศ. 2557. สืบค้นจาก https://www.sem100library.in.th/opac/C atalog/BibItem.aspx?BibID=b00014720

จารุณี ปลายยอด, อรสา พันธ์ภักดีง, และ ชีวรัตน์ ต่ายเกิด. (2558). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน การดูแลตนเองต่อการรับรู้ความสามารถในการดูแลตนเอง น้ำหนักตัวและการควบคุมความดันโลหิตของผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง. Rama NURS J.18(2). 223-236

จักรพันธ์ ชัยพรหมประสิทธิ์. (2559). โรคความดันโลหิตสูง. ใน วิทยา ศรีดามา (บรรณาธิการ), ตำราอายุรศาสตร์ 4 (พิมพ์ครั้งที่ 3, 374- XII หน้า). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทัพพ์ขวัญ ศรีรัตยาวงค์. (2554). การพัฒนาโปรแกรมการป้องกันการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร-มหาบัณฑิต]. สาขาวิชาการพยาบาลชุมชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พัชรี รัศมีแจ่ม. ปริศนา อัครธนพล และวนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย(2556). ปัจจัยทำนายภาวะก่อนความดันโลหิตสูงและความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุในตำบลนาเกลือ อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ [วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตร์สาขาวิชาการพยาบาลสาธารณสุข]. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ยุพา อภิโกมลกร. กัญญาณัฐ ปินตาสาย. (2562). ผลของการพัฒนาความฉลาดทางสุขภาพด้วย PRECEDE PROCEED model ในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคคววามดันโลหิตสูง ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกล้วยแพะ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง. วารสารควบคุมโรค, 45(4), 343-354.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2551). วิธีวิทยาการวิจัย. ใน สนิท บุญฤทธิ์ (บรรณาธิการ). สุวีริยสาส์น.

วิมลทิพย์ แก้วถา. (2556). ผลของการฝึกการผ่อนคลายร่วมกับการใช้ไบโอฟีดแบคต่อความเครียดและ ความดันโลหิตในผู้ที่มีความดันโลหิตสูง [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต] สาขาวิชา การพยาบาลผู้ใหญ่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

รัชนก ใจเชิดชู. (2556). การพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับนักเรียนที่มีภาวะน้ำหนักเกิน. วารสารพยาบาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 73(10), 203-210.

สมจิต หนุเจริญกุล และ พรทิพย์ มาลาธรรม. (2552). การพยาบาลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง. ใน สมจิต หนุเจริญกุล (บรรณาธิการ). การพยาบาลทางอายุรศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่16). วี.เจ.พริ้นติ้ง.

สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. (2562). แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562. สืบค้นจาก http://thaihypertension.org/guideline.html

สารภี แสงเดช และ เพชรไสว ลิ้มตระกูล. (2555). แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงระยะก่อนความดันโลหิตสูงในชุมชนแห่งหนึ่ง ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, 35(1), 39-47.

สันติชัย เอื้อจงประสิทธิ์. (2551). สาระสําคัญของการมีส่วนร่วมของบุคลากร. สามเจริญพาณิชย์.

สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. (2551). ตำราการตรวจรักษาโรคทั่วไป 2: 350 โรคกับการดูแลรักษาและการป้องกัน (พิมพครั้งที่ 4). โฮลิสติกพับลิชชิ่ง.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2557). เรื่องเล่าภาคี. สืบค้นจาก http://www.thaihealth.or.th/

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนจำแนกตามประเภทค่าใช้จ่ายรายภาคและเขตการปกครองทั่วราชอาณาจักร พ.ศ.2563. สืบค้นจาก http://service.nso.go.th/nso/nso_center/project/search_center/23project-th.htm

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2563). ตรวจสอบรายงานผลการคัดกรองเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงประจำปีงบประมาณ 2562. สืบค้นจาก http://203.157.10.11/screen2/index.php.

อรินทยา พรหมินธิกุล. (2557). Cardiovascular risk assessment in metabolic syndrome. ใน บุษยามาส American Journal Cardiology, 109, 1005-1010.

American College of Sports Medicine. (2006). ACSM’s resource manual for guidelines for exercise testing and prescription (5th ed.). Wolters Kluwer, Lippincott Williams & Wilkins.

Chobanian A. V., Bakris. G. L., Black. H. R., Cushman. W. C., Green. L. A., Izzo. J. L. & Wrigh. J. T. (2011). The seventh report of the Jiont National Committee on Prevention, Detection. Evaluation. and Treatment of High Blood Pressure. Retrieved from http://www.nhlbi.nih.gov/guidelines/hypertension/

Centers for disease control [CDC]. (2012). High Blood Pressure. Retrieved from http://www.cdc.gov/bloodpressure/facts.html

Green, L. and Kreuter, M. (2005) Health program planning: An educational and ecological approach. 4th Edition, McGraw Hill.

Guo. X., Zou. L., Zhang. X., Li. J., Zheng. L., Sun. Z., Sun. Y., Hu. J., Wong. N. & Hu. J. (2011). Prehypertenson: Epidemiology. Risk Factors. Progression. Texas Heart Institute Journal, 38(6), 643-652.

Kanno. A., Kikuya. M., Ohkubo. T., Hashimoto. T., Satoh. M., Hirose. T., Imai. Y., Obara. T., Metoki. H., Inoue. R., Asayama. K., Shishido.Y., Hoshi. H., Nakayama. M., Totsune. K.., Satoh. H. & Sato. H. (2012).Prehypertension as a significant predictor of chronic kidney disease in a population: the Ohasama Study. Nephrology Dialysis Transplantation, 27(8), 3218- 3223. https://doi.org/10.1093/ ndt/gfs054

Lee M., Saver J. L, Chang B., Chang K. H., Hao Q. & Ovbiagele, B. (2011). Presence of baseline prehypertension and risk of incident stroke. Neurology, 77, 1330-1337

Meng X., Dong G., Wang D., Liu M., Liu Y., Zhao Y., Zhang H., Deng W. & Tian S, (2012). Epidemiology of prehypertension and associated risk factors in urbanadults from 33 communities in China. Circulation Journal, 76(4), 900-906.

Nantinee N., Parkhurst K., Dhindsa M., Tarumi T., Vavrek J. & Tanaka H., (2012). Effect of Swimming Training on Blood Pressure and Vascular Function in Adults >50 Years of Age. Am J Cardiol, 109(7):1005-10. doi: 10.1016/j.amjcard.2011.11.029. Epub 2012 Jan 11.

Porth, C. M. (2010). Essentials of pathophysiology (3rd ed.). Wolters Kluwer Health.

Theofilou, P., & Panagiotaki, H. (2013). Health-Related Quality of Life Measurement among Hypertensive Patients. Journal of Clinical Trials, 18(1). 70-78. https://doi.org/10.4172/jctr.1000e102

Salinero-Fort, M. A., Pau, E. C., Arrieta-Blanco, F. J., Abanades-Herranz, J. C., Martin-Madrazo, C., Rodes-Soldevila, B., Burgos-Lunar, C. D. (2011). Effectiveness of PRECEDE model for health education on changes and level of control of HbA1c, blood pressure, lipids, and body mass index in patients with type 2 diabetes mellitus. BioMedicine Central Public Health, 11(267), 573-582.

Sathish, T., Kannon, S., Sarma, P. S., Razum, O., & Thankappan, K. R. (2012). Incidence of hypertension and its risk factors in rural Kerala, India: A community-based cohort study. Public Health, 126, 25-32.

World Health Organization. (2012). Hypertension fact sheet. Retrieved from. http://www.searo.who.int/entity/noncommunicable_diseases/media/non_com.municable_diseases_hypertension_fs.pdf

Zhang, W., & Li, N. (2011) Prevalence. Risk Factor and Management of Prehypertension. International Journal of Hypertension, 47(3), 410–414. https://doi.org/10.4061/2011/605359

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-29

ฉบับ

บท

บทความวิจัย