ระบบต้นแบบ: การบริหารจัดการโครงการจัดหาหนังสือ ตำรา และวารสาร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ผู้แต่ง

  • นารีจุติ ศรีแสงฉาย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

DOI:

https://doi.org/10.14456/jmu.2023.30

คำสำคัญ:

ระบบต้นแบบ, การบริหารจัดการโครงการจัดหา, หนังสือ, ตำราและวารสาร

บทคัดย่อ

            การพัฒนาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อพัฒนาระบบต้นแบบ: การบริหารจัดการโครงการจัดหาหนังสือ ตำรา วารสาร และ 2) ช่วยบริหารจัดการในการดำเนินงานของห้องอ่านหนังสือและค้นคว้าวิจัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ด้วยการพัฒนาระบบผ่าน Power Platform ซึ่งเป็นเครื่องมือใช้สร้างแอปพลิเคชัน โดยมีระบบแจ้งเตือนผู้ใช้อัตโนมัติเพื่อแจ้งผลการพิจารณาในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศผ่านระบบอีเมลของมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยระบบสามารถแสดงรายงานในรูปแบบ Interactive ทั้งแบบตาราง กราฟ และเป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนในการตัดสินใจต่อการบริหารงานได้เป็นอย่างดีและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน โดยผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้ทุกทีทุกเวลา ง่ายต่อการใช้งาน และช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี ทำให้ทราบแนวทางความต้องการของผู้ใช้บริการ

            ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ระบบ อยู่ในระดับดี (gif.latex?\bar{x} = 4.15, S.D. = 0.15)    

References

กองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (ม.ป.ป.). โปรแกรมทั้งหมด. https://citcoms.nu.ac.th/download-category/all-program/

ไกรศักดิ์ เกษร. (2562) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

จุฑารัตน์ มาลาวิลาศ, นภสินธุ์ งามการ, รุจิรดา ชุ่มแก้ว, สายกัญญา แสนโคตร และ ภัทรวรรณ สิขิวัฒน์. (2564). ระบบออนไลน์งานแสดงหนังสือศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง: ความปกติในรูปแบบใหม่. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET 2021 (น. 1-11). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ถนอม กองใจ และ อริษา ทาทอง. (2565). การพัฒนาระบบแจ้งเตือนกิจกรรมและการนัดหมายอัตโนมัติผ่านแอปพลิเคชันไลน์.วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 9(2), 32 - 45. https://doi.org/10.14456/jmu.2022.14

ธนพจน์ ตันติสุขุมาลย์. (2563). การพัฒนาระบบคืนสินค้าของลูกค้าโดยใช้โปรแกรม power app. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม.

นพดล วรรณสอน. (2565). การพัฒนาระบบภาระงานบุคลากรสายวิชาการ คณะบริหารธุรกิจและนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา. วารสารวิชาการ ปขมท., 11(3), 13 - 23.

นวพร สุริยะ และ บุษดี ยอดพรหม. (2565). การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฐานข้อมูล Access Pharmacy 2 และการจัดหาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ห้องสมุดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วารสารวิชาการ ปขมท., 11(3), 67 - 77.

ประยงศรี พัฒนกิจจำรูญ. (2554). หน่วยที่ 4 กระบวนการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (information resources development) (น. 1-45). สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ประสงค์ ประณีตพลกรัง. (2541). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. Diamond in Business World.

เพ็ญณี หวังเมธีกุล, สิริพัชร์ พัฒไพบูลย์, และ ญาณิศา วงศ์พายัพไพบูลย์. (2564). การพัฒนาระบบขายหนังสือออนไลน์และบุ๊คแชทแบบเรียลไทม์. วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 7(2), 1-28.

รัตนา สุวรรณวิชนีย์, และ ปราลี มณีรัตน์. (2560). การพัฒนาระบบรายงานรูปแบบหลายมิติเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเชิงนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. วารสารศรีปทุม, 9(1), 66-75.

วงศ์สว่าง เชาว์ชุติ. (2539). การประยุกต์ใช้ไอทีกับงานพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ. หอสมุดกลาง สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาพร เริงธรรม. (2564, 5 กรกฎาคม). การบริหารโครงการ. [วิดีโอ]. https://www.youtube.com/watch?v=mwkIVqKVLmA&t=2999s

สุธีรา หมื่นแสน และ ฉัตร ชูชื่น. (2564). ต้นแบบระบบธุรกิจอัจฉริยะเพื่อวิเคราะห์และพยากรณ์การผลิตข้าว กรณีศึกษากลุ่มผลิตข้าวจังหวัดเชียงใหม่. วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 3(2), 54-73.

โอกาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2555). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. ซีเอ็ดยูเคชั่น.

Deming, W. E. (2004). Out of the crisis. Massachusetts Institute of Technology.

Microsoft. (2022, กันยายน 20). Power Platform. https://powerplatform.microsoft.com/en-us/

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3rd ed.). Harper and Row Publications

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-11-08

ฉบับ

บท

บทความวิจัย