ความสัมพันธ์ระหว่างสารสนเทศกับห่วงโซ่อุปทาน ตามเครือข่ายการประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยอาเซียนระดับหลักสูตร

ผู้แต่ง

  • อรรถพล จันทร์สมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

DOI:

https://doi.org/10.14456/jmu.2021.31

คำสำคัญ:

ความสัมพันธ์ระหว่างสารสนเทศกับห่วงโซ่อุปทาน, เครือข่ายการประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยอาเซียน, หลักสูตร

บทคัดย่อ

  ความสัมพันธ์ระหว่างสารสนเทศกับห่วงโซ่อุปทานตามเครือข่ายการประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยอาเซียนระดับหลักสูตรมีความสำคัญสำหรับการประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง จากข้อค้นพบจากการทบทวนวรรณกรรมผู้วิจัยพบเอกสาร และบทความจำนวนมากในห่วงโซ่อุปทาน ความสัมพันธ์ระหว่างสารสนเทศกับห่วงโซ่อุปทานเป็นกระบวนการสำคัญในการสนับสนุนระบบกิจกรรมการศึกษาทั้งหมดจากซัพพลายเออร์ (Supplier) ต้นน้ำถึงผู้บริโภคปลายน้ำ ช่วยให้องค์กรสามารถตรวจสอบห่วงโซ่อุปทาน และเทคโนโลยีสารสนเทศได้ทันที เพื่อให้มั่นใจว่าองค์กรดำเนินงานได้อย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพตามกลยุทธ์ที่กำหนดไว้ กระบวนการประกอบด้วยขั้นตอนเริ่มตั้งแต่ ผู้ส่งมอบ ผู้ผลิต ลูกค้า รวมถึงกิจกรรมในโซ่อุปทาน ได้แก่ 1) ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 2) รายละเอียดของหลักสูตร 3) โครงสร้างเนื้อหาสาระของหลักสูตร 4) การจัดการเรียนและการสอน 5) การประเมินผู้เรียน 6) คุณภาพบุคลากรสายวิชาการ 7) คุณภาพบุคลากรสายสนับสนุน 8) คุณภาพผู้เรียนและการสนับสนุน 9) สิ่งอำนวยความสะดวกและโครงสร้างพื้นฐาน 10) การเสริมสร้างคุณภาพ 11) ผลผลิต กิจกรรมทั้งหมดจะเชื่อมโยงผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษาตามเครือข่ายของห่วงโซ่อุปทานตามเครือข่ายการประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยอาเซียนระดับหลักสูตร เริ่มจาก การสร้างข้อมูล ข่าวสาร และทรัพยากรมาประยุกต์รวมเข้าด้วยกัน เพื่อทำการเคลื่อนย้ายสินค้าจากผู้ส่งมอบไปยังลูกค้า ทำให้เกิดการไหลของข้อมูลรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่สถานศึกษา และได้ผลผลิตเป็นที่พึงพอใจให้กับผู้บริโภค

References

คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2554). โลจิสติกส์และโซ่ อุปทาน. (น.99-135) พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท โฟกัสมีเดีย แอนด์ พับลิชชิ่ง จำกัด.

ดวงพรรณ กริชชาญชัย ศฤงคารินทร์ และเตือนใจ สมบูรณ์วิวัฒน์ (2553). การนำเทคโนโลยี สารสนเทศที่เหมาะสมมาใช้ในการบริหาร โซ่อุปทานอุตสาหกรรม จากโครงการ พัฒนาหลักสูตร และการฝึกอบรมโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน โดยสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และ เครือข่ายนักวิจัยด้านการจัดการโลจิสติกส์ และโซ่อุปทานในประเทศไทย (Thai VCML), สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2563 ,จาก http://logisticscorner.com/index. php?optio=com._content&view= article&id=1716:2010-03-06-01-15- 58&catid=41:supply- chain&Itemid=89.

ฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา คณะวิทยาการ จัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย พะเยา.(2558). คู่มือประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยอาเซียน, สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2563 ,จาก http://mis.up.ac.th/.().

ไพฑูรย์ กำลังดี.(2553). โลจิสติกส์และโซ่อุปทาน. สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2563 จาก http://www.bbc.ac.th/eBook.html.

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ .(2558). คู่มือ AUN-QA (เวอร์ชั่น ภาษาไทย),สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2563 จาก http://www.education.mju .ac.th/fileDownload/334.pdf.

สำนักงานข้าราชการพลเรือน. (2555). ก้าวสู่ประชาคม อาเซียน .พิมพ์ครั้งที่ 3. สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2563 จาก https://www.ocsc.go.th/sites/default/fi les/attachment/article/hipps-news- v005-2555.pdf.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนัก นายกรัฐมนตรี (2542). พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไข เพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545, สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2563 จาก https://www.bic.moe.go.th/images/ stories/5Porobor._2542pdf.pdf.

อรรถพล จันทร์สมุด.(2556). ความสัมพันธ์ระหว่าง สารสนเทศกับห่วงโซ่อุปทานใน สถาบันอุดมศึกษา.วารสารเทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ- อุบลราชธานี, 3(5),1-8.

อรรถพล จันทร์สมุด.(2555). การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการจัดการห่วงโซ่ อุปทานด้านการผลิตบัณฑิต.วารสาร เทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี, 2(3),41-47.

อรรถพล จันทร์สมุด.(2559).ระบบสารสนเทศการ บริหารห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการ งานวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา.วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์,36(2),210-221.

Chansamut,A.,and Piriyasurawong.P, (2014).Conceptual Framework of Supply Chain Management Information System for Curriculum Management Based on Thailand Qualifications Framework for Higher Education. International Journal of Managing Value and Supply Chains (IJMVSC), 5(4), 33-45.

Chansamut, A., and Piriyasurawong (2019). Supply Chain Management Information system for Curriculum Management Based on The National Qualifications Framework for Higher Education. International Journal of Supply and Operations Management, 6(1), 88-93.

Chansamut, A.,(2021a). Supply chain business intelligence model for quality assurance in educational management for ASEAN University Network Quality Assurance. International Journal of Supply Chain Management (IJSCM), 10(5) , 40-49.

Chansamut, A.,(2021b). Synthesis conceptual framework of Supply Chain Business Intelligence for Educational Managementin Thai Higher Education Institutions.International Journal of Supply Chain Management (IJSCM), 10(5), 25-31.

Habib. M., and Jungthirapanich,C,(2008).Integerated Education Supply Chain Management (IESCM) Model for the Universities.. Retrieved May 6, 2020 available: http://www.academia.edu/MamunHabib

Habib. M, (2009). An empirical Research of ITESECM: integrated tertiary educational supply chain management model. Retrieved May 6 2020 Available: http://www. academia. edu/MamunHabib

Habib. M.,and Jungthirapanich. C,(2009). Research Framework of Education Supply Chain, Research Supply Chain and Educational Management for the Universities. Retrieved May 6, 2020 available: http://www. academia.edu/MamunHabib.

Habib. M., and Jungthirapanich. C, (2010). An Empirical Study of Educational Supply Chain Management for the Universities. Retrieved May 6, 2020 available: http://www.academia.edu/MamunHabib.

Kaewngam. A., Chatwattana. P., and Piriyasurawong. P., (2019). Supply chain management model in digital quality assurance for ASEAN university network quality assurance (AUN-QA). Canadian Center of Science and Education, 9(4),12-19.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-27

ฉบับ

บท

บทความทางวิชาการ