แนวทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อการพัฒนา บุคลากรสายสนับสนุน
DOI:
https://doi.org/10.14456/jmu.2017.18คำสำคัญ:
เทคโนโลยีการศึกษา, การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการศึกษา, การพัฒนาบุคลากรบทคัดย่อ
เทคโนโลยีการศึกษาเป็นเครื่องมือสื่อสารสำคัญในการสร้างสารสนเทศที่ครอบคลุมทั้งด้านการเรียน (Learning) และการสอน (Teaching) ให้เกิดการเรียนรู้จากการใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่มีความสะดวกเป็นสำคัญ บทความนี้ผู้เขียนมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการศึกษาให้มีประสิทธิผลเพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในองค์การ โดยนำหลักการออกแบบและเลือกใช้เทคโนโลยีการศึกษาให้เหมาะสมกับสภาพของแต่ละองค์การ เพื่อทำให้การพัฒนาบุคลากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเมื่อบุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพทั้งทางด้านความรู้และความเข้าใจมากขึ้นแล้วจะช่วยกระตุ้นให้นำไปใช้ในการพัฒนางานที่รับผิดชอบให้มีความก้าวหน้า ได้อย่างเหมาะสมเพื่อผลประโยชน์ต่อตนเอง องค์การ สังคม เศรษฐกิจและประเทศชาติ ต่อไป
References
2. จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2554). หลักการออกแบบเว็บไซต์ทางการศึกษา: ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: โครงการตำราอีเลิร์นนิง. โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.
3. ชวนิดา สุวานิช. (2555). รายงานการวิจัยการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบเคลื่อนที่ผ่านเครื่องช่วยงานดิจิทัลส่วนบุคคล. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนา, มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม.
4. วิจารณ์ พานิช. 2548. การจัดการความรู้กับการบริหารราชการไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
5. มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล.(2560). บุคลากรสายสนับสนุน. เข้าถึงเมื่อ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2560 จาก http://www.mb.mahidol.ac.th/th/index.php/people-mb/supporting-staff.html
6. สุพรรณี ชาญประเสริฐ. (2556). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.), 42(185), 10-13.
7. สำนักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ. (2560). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ : สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.
8. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ สิบสอง พ.ศ.2560-2564. กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี.
9. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). วิสัยทัศน์. เข้าถึงเมื่อ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2560 จาก http://www.mb.mahidol.ac.th/th/index.php/about-us/mb-vision
10. Bray, Erick & Aoki, Kumiko & Blue Gosh, Larry. (2008). Predictors of Learning Satisfaction in Japanese Online Distance Learners. Internationnal Review of Research in Open and Distance Learning. 9(3) pp.1-24.
11. Bui, K., & Baruch, Y. (2010). Creating learning organization in higher education: Applying a systems perspectives. Learn Organ. 17(3), 208-227.
12. Esper, et al. (2010). Demand and supply integration: A conceptual framework of value creation through knowledge management. J. Acad. Mark. Sci, 38, 5–18.
13. Harvard Extension School. (2016). Distance Education: Online Courses at Harvard. Retrieved August 6, 2016, from http://www.extension.harvard.edu/distance-education.
14. Peter M. Senge. (2006). The Fifth Discipline: The Art & Practice of The Learning Organization. Paperback: Deckle edge publishing.
15. Salinda Premadasa, H.K. Gayan R. & Meegama N., (2013). นวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา environment with short messaging service: Application to a campus environment in a developing country. Campus-Wide Information systems, Vol. 30 Iss: 2, pp.106 - 123
16. Vincent Carpentier, Norbert Pachler, Karen Evans, Caroline Daly. (2011). Work‐Learn‐Educate: The WLE Centre for Excellence's conceptualisation of work‐based learning. Higher Education, Skills and Work-Based Learning, Vol. 1 Iss: 3, pp.216 - 230.