การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติ และการสนับสนุนทางสังคมกับการตีตราบาปทางสังคม ในเด็กสมาธิสั้นในโรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด

ผู้แต่ง

  • จิดาภา แสงกล้า โรงพยาบาลอาจสามารถ

คำสำคัญ:

เจตคติ, การสนับสนุนทางสังคม, การตีตราบาปทางสังคม, เด็กสมาธิสั้น

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ :  เพื่อศึกษาการตีตราบาปทางสังคม เจตคติ และการสนับสนุนทางสังคมในเด็กสมาธิสั้น และศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติ และการสนับสนุนทางสังคมกับการตีตราบาปทางสังคมในเด็กสมาธิสั้น

รูปแบบการวิจัย :  การสำรวจแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional study)

วัสดุและวิธีการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ปกครองนักเรียนที่ป่วยด้วยโรคเด็กสมาธิสั้น ที่ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับสลากจากโรงเรียนในอำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 116 คน ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเข้า การวิจัยครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม 2566 โดยใช้เก็บแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Pearson correlation coefficient

ผลการวิจัย : 1) การตีตราบาปทางสังคมต่อเด็กสมาธิสั้น โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 29.3 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้นต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ย และร้อยละ 35.5 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้นสูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ยและมีอารมณ์ความรู้สึกทางลบต่อเด็กสมาธิสั้นโดยรวมอยู่ในระดับน้อย การสนับสนุนทางสังคมต่อเด็กสมาธิสั้นโดยรวมทั้ง 4 มิติ อยู่ในระดับมาก และ 2) คะแนนเฉลี่ยเจตคติด้านอารมณ์ความรู้สึกเชิงลบมีความสัมพันธ์ทางบวก (y2) (rxy=3.12, p = .001) และเจตคติด้านอารมณ์ความรู้สึกเชิงบวก (rxy=-.211,p =.023) มีความสัมพันธ์ในทางลบกับคะแนนการตีตราบาปทางสังคมในเด็กสมาธิสั้น

สรุปและข้อเสนอแนะ : ผลการศึกษาครั้งนี้ส่งผลให้ได้แนวทางการลดการการตีตราบาปทางสังคมในเด็กสมาธิสั้น

References

Trangkasombat U. Attention Deficit Hyperactivity Disorder in Primary School Children. Journal of Mental Health of Thailand; 2021.

Polanczyk G V, Willcutt E G, Salum G A, Kieling C, Rohde L A. ADHD prevalence estimates across three decades: an updated systematic review and meta-regression analysis. Int J Epidemiol. 2014;43:434–42.

Cortese S, Faraone S V, Bernardi S, Wang S, Blanco C. Gender differences in adult attention-deficit/hyperactivity disorder: results from the National Epidemiologic Survey on Alcohol and Related Conditions (NESARC). J Clin Psychiatry. 2016;77–428.

โรงพยาบาลอาจสามารถ. ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์สาธารณสุขปีงบประมาณ พ.ศ.2566. ร้อยเอ็ด. กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลอาจสามารถ; 2566.

Hinshaw S P. Stigma and mental health. Lancet. 2020;396(10259):953-54.

Holubova M, Prasko J, Ociskova M, Vanek J, Slepecky M, Zatkova M, et al. Three diagnostic psychiatric subgroups in comparison to self-stigma, quality of life, disorder severity and coping management cross-sectional outpatient study. Neuro Endocrinol Lett. 2018;39(4):331-41.

อาชวศรี คำหอม. การรับรู้ตราประทับของผู้ดูแล ทักษะชีวิต และการรับรู้ตราประทับของผู้ที่เป็นโรคจิตเภท [วิทยานิพนธ์]. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2552.

Goffman E. Stigma: Notes on the management of spoiled identity; 1963.

ภาสกร คุ้มศิริ, อุ่นเรือน เล็กน้อย. ปัจจัยพยากรณ์การตีตราบาปทางสังคมของผู้ปกครองต่อเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยสมาธิสั้น. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 2565;10(3):314–22.

Ngarmyarn A. Due to the formula of Yamane. Business Administration Journal. 2011;34(131):46-60.

Koomsiri P, Leknoi U. Review article: Attention deficit hyperactivity disorder (ADHD) and public stigma. Journal of Preventive Medicine Association of Thailand. 2018;7(3):302-11.

Mason E K, Varma P. A study on the influence of Thai cultural factors on attitudes and perceptions of ADHD. Scholar: Human Sciences. 2021;13(2):270-85.

Chang C C, Chen Y M, Liu T L, Hsiao R C, Chou W J, Yen C F. Affiliate stigma and related factors in family caregivers of children with attention-deficit/hyperactivity disorder. International Journal of Environment Research and Public Health. 2020;17(2):576.

Puttisri S, Punpanich P, Pantungtong T, Sungprasit M. A depression in mothers of children with ADHD. Journal of Psychiatry Association of Thailand. 2006;51(3):213-23.

Mueller B, Nordt C, Lauber C, Rueesch P, Meyer P C, Roessler W. Social support modifies perceived stigmatization in the first years of mental illness: A longitudinal approach. Soc Sci Med. 2005:62(1):39-49.

Wannachat O. Life skills as perceived by caregiver, social support and perceived stigma in schizophrenic patients. Master thesis in nursing (mental health and psychiatric nursing). Graduate school. Chiangmai University; 2007.

Hongtiyanon T, Tipawong A. Relationships between Social Support and Quality of Life in Schizophrenia Patients. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 2018;19:487-94.

Reta Y, Tesfaye M, Girma E, Dehning S, Adorjan K. Public stigma against people with mental illness in Jimma Town, Southwest Ethiopia. PLoS One. 2016;11(11):e0163103.

Vrbova K, Prasko J, Holubova M, Kamaradova D, Ociskova M, Marackova M, et al. Self-stigma and schizophrenia: a cross-sectional study. Neuropsychiatr Dis Treat. 2016;12:3011-20.

Wood L, Byrne R, Enache G, Morrison A P. A brief cognitive therapy intervention for internalized stigma in acute inpatients who experience psychosis: A feasibility randomized controlled trial. Psychiatry Res. 2018;262:303-10.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-09-17