การพัฒนาแนวทางการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ในหญิงตั้งครรภ์โรงพยาบาลจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด

ผู้แต่ง

  • ชิตชนัญ โพธิ์ชัยหล้า สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด

คำสำคัญ:

การควบคุมและป้องกันโลหิตจาง, ขาดธาตุเหล็ก, หญิงตั้งครรภ์

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลตนเอง และค่าฮีมาโตคริตของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางก่อนและหลังได้รับแนวทางการควบคุมและป้องกันโลหิตจาง

รูปแบบการวิจัย : การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) แบบกลุ่มเดียววัดก่อนหลังการทดลอง (Pretest- posttest design)  

วัสดุและวิธีการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางที่มาฝากครรภ์โรงพยาบาลจตุรพักตรพิมานที่มีคุณสมบัติในการคัดเข้า (Inclusion criteria) จำนวน 22 ราย ระยะเวลาดำเนินการตั้งแต่เดือนมกราคม-เดือนพฤศจิกายน 2566 เก็บรวบรวมข้อมูลดดยใช้แบบสอบถาม แบบบันทึก และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และPaired t-test

 ผลการวิจัย : หญิงตั้งครรภ์พฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อลดภาวะโลหิตจางมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=.001) โดยมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมเพิ่มขึ้น 1.63 คะแนน (95%CI: 1.32, 1.94) และหญิงตั้งครรภ์มีค่าเฉลี่ยค่าฮีมาโตคริตมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) โดยมีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมเพิ่มขึ้น 1.63 คะแนน (95%CI: 1.69, 5.57)  

สรุปและข้อเสนอแนะ : ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าแนวทางที่พัฒนาขึ้นส่งผลให้พฤติกรรมการบริโภคอาหาร การกินยาเสริมธาตุเหล็ก และเพิ่มความเข้มข้นของเลือดในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นที่มีภาวะโลหิตจางได้

References

Olds S B, London M L, London M L, Wieland Ladewig P A. Maternal- Newborn Nursing A Family and Community- Based Approach. New Jersey: Prentice-Hall; 2000.

จตุพล ศรีสมบูรณ์, อภิชาต โอฬารรัตนชัย, ชาเนนทร์ วนาภิรักษ์. คู่มือสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา. กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล อินเตอร์เนชั่นแนน อินเตอร์ไพรส์อิงค์; 2538.

Ayoya M A, Spiekermann-Brouwer G M, Traoré A K, Stoltzfus R J, Garza C. Determinants of anemia among pregnant women in Mali. Food and nutrition bulletin. 2006;27:3-11.

Milman N. Iron prophylaxis in pregnancy-general or individual and in which dose? Annal of hematology. 2006;88:824-27.

Mishra V, Thapa S, Retherford R D, Dai X. Effect of iron supplementation during pregnancy on birth weight: evidence from Zambabwe. Food nutrition bulletin. 2005;26(4):338-47.

ประเทือง เหลี่ยมพงศาสพุทธิ, ชยันตร์ธร ปทุมานนท์, ชไมพร ทวิชศรี. ผลของภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ต่อน้ำหนักทารกแรกคลอดเมื่อครรภ์ครบกำหนดที่โรงพยาบาลลำปาง. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2547;13(4):459-65.

World Health Organization [WHO]. Worldwide prevalence of anemia 2016 - 2019, WHO Globaldatabase on anemia [Internet]. 2021 [cited 5 Jan 2024]. Available from: https://www.who.int/data/gho/data/themes/topics/anaemia_in_women_and_children

Juul S E, Derman R J, Auerbach M. Perinatal iron deficiency: Implications for Mothers and infants. Neonatology. 2019;115(3):269-74.

Chantanamongkol K. Nursing care for women with congenital diseases. Pathum Thani: Rangsit University. (In Thai); 2016.

Finkelstein J L, Kurpad A V, Bose B, Thomas T, Srinivasan K, Duggan C. Anaemia and iron deficiency in pregnancy and adverse perinatal outcomes in Southern India. European Journal of Clinical Nutrition. 2020;74(1):112-25.

Blackburn S. Maternal fetal, neonatal physiology-e-book: A clinical perspective. St. Louis: Elsevier Health Sciences; 2017.

Young M F, Oaks B, Tandon S, Martorell R, Dewey K, Wendt A. Maternal Hemoglobin concentrations across pregnancy and maternal and child health: A systematic review and meta-analysis (P11-033-19). Annals of the New York Academy of Sciences. 2019;1450(1):47-68.

Pavord S, Daru J, Prasannan N, Robinson S, Stanworth S, Girling J, et al. UK guidelines on the management of iron deficiency in pregnancy. Br J Haematol. 2020;188(6):819-30.

Brannon P M, Taylor C L. Iron supplementation during pregnancy and infancy: Uncertainties and implications for research and policy. Nutrients. 2017;9(12):1327.

วรรณพร คำพิลา, เบญจพร ฐิติญาณวิโรจน์, สุกัญญา รักศรี, ปวินตรา มานาดี, ทิพวรรณ ทัพซ้าย, สุธิดา สิงห์ศิริเจริญกุล. การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก: บทบาทที่ท้าทายของพยาบาล. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 2565;30(2);134-42.

Orem D E. Nursing: Concepts of practice (6th ed.). St. Louis: Mosby-Year Book; 2001.

Jehnok M. The effect of supportive educative program for reduction of anemia on self-care behavior of Muslim pregnant women. Master of Nursing Science Thesis, Advanced Midwifery, Graduate School, Faculty of Nursing, Prince of Songkla University; 2012.

Seaharattanapatum B, Sinsuksai N, Phumonsakul S, Chansatitporn N. Effectiveness of balanced diet-iron supplement program among pregnant women with anemia: A quasi-experimental study. Pacific Rim International Journal of Nursing Research. 2011;25(4):653-65.

Abujilban S, Hatamleh R, Al-Shuqerat S. The impact of a planned health Educational program on the compliance and knowledge of Jordanian pregnant women with anemia. Women & health. 2019;59(7):748-59.

นงเยาว์ สายแก้ว. ผลของการพยาบาลใช้ทฤษฎีความสำเร็จตามเป้าหมายต่อพฤติกรรมการป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2549.

King I M. "King's Theory of Goal Attainment." Nursing Science Quarterly. 1992;5:(1):19-25.

ธีราภรณ์ บุณยประภาพันธ์, ศิริวรรณ แสงอินทร์, สุพิศ ศิริอรุณรัตน์. ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับฮีมาโตคริตในหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 2561;26(4):40-50.

วีรวรรณ บุญวงศ์. รูปแบบการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ ในเขตพื้นที่บริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช. กลุ่มพัฒนาแม่และเด็กศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช; 2560.

กันยา โพธิปีติ. การศึกษาผลการให้ยาเสริมธาตุเหล็กแก่หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กและพฤติกรรมการรับประทานอาหารและยาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 5. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 5; 2562.

ศรัณยา ลาโมะ, สุนันทา ยังวนิชเศรษฐ, เบญญาภา ธิติมาพงษ์. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมภาวะโภชนาการต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารและยาเสริมธาตุเหล็ก และความเข้มข้นของเลือดในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นที่มีภาวะโลหิตจาง. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2563;31(1):224-236.

สมศรี ปลิวมา, หทัยรัตน์ บุษยพรรณพงศ์. การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการดูแลภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลชัยนาทนเรนทร. วารสารโรงพยาบาลสิงห์บุรี. 2565;31(2):165-79.

ดารัสนี โพธารส. การนำทฤษฎีความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายของคิงมาใช้ในการดูแลผู้รับบริการในปี 2000. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 2542;7(2):41-51.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-05-12 — Updated on 2024-05-12

Versions