การส่งเสริมการดูแลจิตใจในภาวะโควิด 19 ในการจัดการความเครียดผู้พักสังเกตอาการ โควิด 19 ศูนย์พักสังเกตอาการโควิด 19 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี วิทยาเขตบ้านยางน้อย ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
คำสำคัญ:
การส่งเสริมการดูแลจิตใจ, โควิด 19, การจัดการความเครียด, ผู้พักสังเกตอาการบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยบความเครียดต่อการเผชิญสถานการณ์โควิด 19 ของผู้พักสังเกตอาการโควิด 19 ศูนย์พักสังเกตอาการโควิด 19
รูปแบบการวิจัย : การวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental study) แบบ One group pretest posttest design
วัสดุและวิธีการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนผู้ที่เข้าพักสังเกตอาการโควิด 19 ที่ศูนย์พักสังเกตอาการโควิด 19 ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การคัดเข้า (Inclusion criteria) จำนวน 25 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ และ Percentage differences
ผลการวิจัย : หลังการทดลอง ผู้พักสังเกตอาการโควิด 19 มีระดับความเครียด โดยรวมทั้ง 5 ข้อ อยู่ในระดับ 0 หรือแทบไม่มีอาการเพิ่มขึ้น คิดเป็น 134.88% เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาการนอนนอนไม่หลับหรือนอนมากอยู่ในระดับ 0 คิดเป็น 157.14%; มีสมาธิอยู่ในระดับ 0 คิดเป็น 117.24%; มีอาการหงุดหงิด/กระวนกระวาย/ว้าวุ้นใจอยู่ในระดับ 0 เพิ่มขึ้น 200.0%; รู้สึกเบื่อเซ็งอยู่ในระดับ 0 เพิ่มขึ้น 200.0% และมีอาการรู้สึกเบื่อเซ็ง อยู่ในระดับ 0 ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งก่อนและหลังการทดลอง
สรุปและข้อเสนอแนะ : ผลการวิจัยครั้งนี้ส่งผลให้ผู้ป่วยสามารถลดความเครียดได้ ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรนำไปใช้ในการลดความเครียดให้กับผู้ป่วยได้
References
กรมควบคุมโรค. แนวทางปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือโควิด19 สำหรับประชาชนทั่วไป และกลุ่มเสี่ยง [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 2 กันยายน 2565]. Available from: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/int_protection/int_protection_030164.pdf
World Health Organization. WHO-convened global study of origins of SARS-CoV-2: China Part [Internet]. [Cited 2022 Sep 2]. Available from: https://www.who.int
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการดำเนินงานคัดกรอง เฝ้าระวัง และสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 2 กันยายน 2565]. Available from: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/g_srrt/g_srrt_041263.pdf
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชานี. มาตรการควบคุมโรคโควิด 19. กลุ่มควบคุมโรค; 2564.
Dai L L, Wang X, Jiang T C, Li P F, Wang Y, Wu S J, et al. Anxiety and depressive symptoms among COVID-19 patients in Jianghan Fangcang Shelter Hospital in Wuhan, China. PLoS One. 2020;28;15(8):e0238416.
วรินทิพย์ สว่างศรี, นันทยุทธ หะสิตะเวช, ชลธิชา แย้มมา, ณัฐปพน รัตนตรัย, ดุษฎี จึงศิรกุลวิทย์. ความชุกของการรับรู้ความเครียด ภาวะซึมเศร้า และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยโรคโควิด 19 เขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย. 2564;29(2):114-24.
รับบุญ ค้าไกล, นรากร สารีแหล้. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพต่อการจัดการความเครียดแบบรายบุคคลผ่านระบบอินเตอร์เน็ตสำหรับผู้ป่วยโควิด-19 ในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุดรธานี. วารสารการพยาบาล สุขภาพ และการศึกษา. 2565;5(2):34-41.
จารุมน ลัคนาวิวัฒน์, สาโรจน์ นาคจู. ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังสุขภาพจิต ของเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการฉีดวัคซีนโควิด 19 อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง. วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อมศึกษา. 2566;8(1):182-73.
รัชนี สว่างเนตร. ผลของโปรแกรมการจัดการภาวะเครียดของวัยทำงานในสถานการณ์โควิด-19 ของประชาชนในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยหมากตำบลคำไหล อำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและนวัตกรรมสุขภาพ กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏแห่งประเทศไทย. 2565;1(2):51-63.
จารุวรรณ ประภาสอน. การพัฒนาพลังสุขภาพจิตของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลแคนดง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 2566;17(3):1108-24
เอื้อญาติ ชูชื่น, ปวีณา นันทวิสิทธิ์, นันทา ชัยพิชิตพันธ์. การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเพื่อลดภาวะเครียดและวิตกกังวลจากผลกระทบ COVID-19 สำหรับประชาชน. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต; 2565.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 2024-03-28 (2)
- 2024-03-28 (1)
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
บทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ถือเป็น ผลงานวิชาการ งานวิจัย วิเคราะห์ ตลอดจนเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้ประพันธ์ กองบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็น ด้วยเสมอไป และผู้ประพันธ์จะต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง