ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยของมารดาที่มีบุตรสงสัยพัฒนาการล่าช้าในโรงพยาบาลอาจสามารถ
คำสำคัญ:
สมรรถนะแห่งตน, การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย, เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะแห่งตนของมารดาที่มีบุตรสงสัยพัฒนาการล่าช้าในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยและเปรียบเทียบคะแนนพัฒนาการเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการทดลอง
รูปแบบการวิจัย : การวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental Research: One group pretest posttest)
วัสดุและวิธีการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาที่มีบุตรสงสัยพัฒนาการล่าช้า จำนวน 30 ราย ระยะเวลาดำเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2565 ถึงเดือนมกราคม 2566 เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม แลวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ Paired t-test กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ 95% Confidence Interval
ผลการวิจัย : หลังการทดลอง พบว่า มารดาที่มีบุตรสงสัยพัฒนาการล่าช้ามีสมรรถนะของในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยรวมอยู่ในระดับสูง จำนวน 17 คน (56.70%); กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะของมารดาในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยโดยรวมมากกว่าก่อนการทดลอง (p<.001) โดยมีคะแนนสมรรถนะมากกว่า 1.15 คะแนน (95%CI; 0.96, 1.33) และพัฒนาการเด็กตามคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 23.19
สรุปและข้อเสนอแนะ : ผลการวิจัยครั้งนี้ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงควรนำมาใช้แก้ปัญหาเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า
References
Geberselassie S B, Abebe S M, Melsew Y A, Mutuku S M, Wassie M M. Prevalence Of stunting and its associated factors among children 6-59 months of age in Libo-Kemekem district, Northwest Ethiopia; A community based cross sectional study. Public Library of Science ONE 2018;13:e0195361. doi: http://doi.org/10.1371/journal.pone.0195361. PubMed PMID: 29723280.
Bornstein M H, Putnick D L. Cognitive and socioemotional caregiving in developing countries. Child Development. 2012;83(1):46-61.
Vikram K, Chen F, Desai S. Mothers' work patterns and children's cognitive achievement: Evidence from the India human development survey. Social Science Research. 2018;72:207-24.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. รายงานสุขภาพคนไทย. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล; 2561.
มนัสมีน เจะโนะ, รอฮานิ เจะอาแซ. ผลของโปรแกรมการกระตุ้นพัฒนาการอย่างมีส่วนร่วมของผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต่อพัฒนาการของเด็กอายุ 2-5 ปี. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 2562;30(2):80-8.
โรงพยาบาลอาจสามารถ. รายงานผลการดำเนินตามยุทธศาสตร์ปีงบประมาณ พ.ศ.2565. ร้อยเอ็ด; งานยุทธศาสตร์; 2565.
Payakkaruang S, Sangperm P. Caregiversperspectives on promotion of child development in day care center. Journal of Nursing Science. 2014;32(2):62-70.
อาริสรา ทองเหม, ประพิมพ์ใจ เปี่ยมคุ้ม. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กออทิสติกที่สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์. วารสารวิจัยและพัฒนาการศึกษาพิเศษ. 2560;6(2):21-36.
ชฎาภรณ์ ชื่นตา, สุภาพร แก้วใส, สมจิต แซ่ลิ้ม, เพียงนคร คำผา. การพัฒนาการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดยโสธร. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2561;6(2):291-315.
วรงรอง นิลเพ็ชร์. ผลของโปรแกรมการพัฒนาสมรรถนะแห่งตนของผู้ดูแลเด็กต่อพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยหัดเดินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก [วิทยานิพนธ์]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2554.
เปรมยุดา นาครัตน์, สุวณีย์ จอกทอง, ถาวร พุ่มเอี่ยม. ผลการดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัยในเขตสุขภาพที่ 11. วารสารศาสตร์สุขภาพและการศึกษา. 2564;1(1):40-9.
บุษบา อรรถาวีร์, บำเพ็ญ พงค์เพชรดิถ. รูปแบบการใช้คู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมย์. 2561;13(3):229-42.
ปรพร ทองหลวง. ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ. 2560:11(3).
มณฑาทิพย์ เหตานุรักษ์. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนในการใช้สื่อคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยเทคนิค MI ที่มีผลต่อสมรรถนะแห่งตนและพฤติกรรมในการใช้สื่อคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยสำหรับมารดาที่มารับบริการที่สถาบันพัฒนาสุขภาวะเขตเมือง. สระบุรี: ศูนย์อนามัยที่ 4; 2564.
วัฒนาพร คำกัน. ผลของโปรแกรม TEDA4I ในเด็ก 0-5 ปี ที่มีปัญหาพัฒนาการล่าช้าในโรงพยาบาลลำพูน. วารสารโรงพยาบาลแพร่. 2565;3(1):16-26.
นิรมัย คุ้มรักษา, รัชดาวรรณ์ แดงสุข, ธัญหทัย จันทะโยธา. ผลของโปรแกรม TEDA4I ในเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการในจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารราชานุกูล. 2561;33(1):19-29.
เอกชัย ลีลาวงศ์กิจ. ผลของการใช้ เครื่องมือ TEDA4I ในเด็ก 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการล่าช้า จังหวัดอุดรธานี. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี. 2563;28(1):101-11.
อำไพรัตน์ สุทธิธรรมถาวร. ประสิทธิผลของรูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กพัฒนาการล่าช้า. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 2565:16(3):986-98.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
บทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ถือเป็น ผลงานวิชาการ งานวิจัย วิเคราะห์ ตลอดจนเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้ประพันธ์ กองบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็น ด้วยเสมอไป และผู้ประพันธ์จะต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง