This is an outdated version published on 2024-03-05. Read the most recent version.

ผลการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลเพื่อดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่เสี่ยงต่อภาวะเจ็บครรภ์คลอด ก่อนกำหนดต่อภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดและอัตราการคลอดก่อนกำหนด ในโรงพยาบาลเกษตรวิสัย

ผู้แต่ง

  • ธัญทิพ วงษ์จำปา โรงพยาบาลเกษตรวิสัย

คำสำคัญ:

แนวปฏิบัติทางการพยาบาล, หญิงตั้งครรภ์ที่เสี่ยง, ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด, อัตราการคลอดก่อนกำหนด

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่เสี่ยงต่อภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ต่ออัตราการเกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด และอัตราการคลอดก่อนกำหนด

รูปแบบการวิจัย : การวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) แบบสองกลุ่มวัดหลัง (Two group pre-test posttest design)

วัสดุและวิธีการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีตั้งครรภ์อายุครรภ์ 26-28 สัปดาห์ที่มีความเสี่ยงต่อภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ซึ่งเข้ารับบริการฝากครรภ์ ในคลินิกฝากครรภ์โรงพยาบาลเกษตรวิสัยระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนสิงหาคม 2565 กลุ่มตัวอย่างกลุ่มละ 61 คน รวมขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 122 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูล และแบบบันทึกผลลัพธ์การตั้งครรภ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ % Differences

ผลการวิจัย : อัตราการเกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) และอัตราการเกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด อัตราการคลอดก่อนกำหนดและไม่คลอดก่อนกำหนดลดลงจากปี พ.ศ.2565 เป็น 7.6%, 29.22, 54.54 และ 25.52 ตามลำดับ

สรุปและข้อเสนอแนะ : ผลการศึกษาครั้งนี้ยืนยันได้ว่าการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดสามารถเพิ่มผลลัพธ์ที่มีคุณภาพได้

References

Damus K. Prevention of preterm birth: A renewed national priority. Current Opinion in Obstetrics & Gynecology. 2008;20(6):590-96.

Khashu M, Narayanan M, Bhargava S, Osiovich H. Perinatal outcomes associated with preterm birth at 33 to 36 weeks gestation: A population-based cohort study. Pediatrics. 2009;123(1):109-13.

Anderson P, Doyle L W. Neurobehavioral outcomes of school-age children born extremely low birth weight or very preterm in the 1990s. The Journal of the American Medical Association. 2003;289(24):3264-72.

Andrews W W, Cliver S P, Biasini F, Peralta-Carcelen A M, Rector R, Alriksson-Schmidt A I. Early preterm birth: Association between in utero exposure to acute inflammation and severe neurodevelopmental disability at 6 years of age. American Journal of Obstetrics and Gynecology.

;198(4):466.e1-466.e11.

Valcamonico A, Accorsi P, Sanzeni C, Martelli P, La Boria P, Cavazza A, et al. Mid and long-term outcome of extremely low birth weight (ELBW) infants: An analysis of prognostic factors. Journal of Maternal Fetal & Neonatal Medicine, 2007;(6):465-71.

โรงพยาบาลเกษตรวิสัย. ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์. ร้อยเอ็ด: งานยุทธศาสตร์; 2565.

Beck S, Wojdyla D, Say L, Betran A P, Merialdi M, Requejo J H, et al. The worldwide incidence of preterm birth: a systematic review of maternal mortality and morbidity. Bull World Health Organ. 2010;88(1):31-8.

Department of Obstetrics and Gynecology, Faculty of Medicine Siriraj Hospital. Annual Statistical Report 2017: Department of Obstetrics and Gynecology, Faculty of Medicine Siriraj Hospital. Bangkok: Department of Obstetrics and Gynecology; 2018.

ธราธิป โคละทัต. ทารกคลอดก่อนกำหนด: สถานการณ์ปัจจุบันและผลกระทบในการบูรณาการระบบดูแลสุขภาพมารดาและทารก. กรุงเทพฯ: โครงการเครือข่ายสุขภาพมารดาและทารกเพื่อครอบครัวของเด็กและเยาวชนไทยในพระอุปถัมภ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์พระวรชายาในพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร; 2551.

Hill W C, Fleming A D, Martin R W, Hamer C, Knuppel R A, Lake M F, et al. Home uterine activity monitoring is associated with a reduction in preterm birth. Obstetrics & Gynecology. 1990;76(1):13s-18s.

สุพัตรา ปิ่นแก้ว, เอมพร รตินธร, เยาวลักษณ์ เสรีเสถียรและวิบูลย์ เรืองชัยนิคม. ผลของโปรแกรมการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่เสี่ยงต่อภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดต่ออัตราการเกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดและอัตราการคลอดก่อนกำหนด. วารสารคณะพยายาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 2557;22(4):58-71.

สายฝน ชวาลไพบูลย์. ตำราคลอดก่อนกำหนด. กรุงเทพฯ: หน่วยเวชศาสตร์มารดา และทารกในครรภ์ ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล; 2553.

Erdfelder E, Faul F, Buchner A. G power: A general power analysis program. Behavior Research Methods, Instruments & Computers. 1996;28(1):1-11.

ณัฏฐมณฑน์ โกศัย, ฉวี เบาทรวง, กรรณิการ์ กันธะรักษา. ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการดูแลสตรีที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดหน่วยงานห้องคลอด โรงพยาบาลสุโขทัย. พยาบาลสาร. 2554;38(3):30-41.

ทิพย์วรรณ ประสาสน์ศักดิ์, วิรัชนี สุขวัฒนานนท์, ศศิธร อินทุดม. การพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับการป้องกันและการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด โรงพยาบาลแพร่. 2563;28(2):25-35.

ฉวีวรรณ ธงชัย. การพัฒนาแนวปฏิบัติทางคลินิก. สภาการพยาบาล. 2548;20(2):63-74.

วรรณทนีย์ ลีหาพงศธร, ภรณ์ทิพย์ จันทาทิพย์. การพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในห้องคลอดโรงพยาบาลนารายณ์มหาราช. วารสารกองการพยาบาล. 2559:43:46-62.

ฐิรวรรณ บัวแย้ม, เพียงบุหลัน ยาปาน, สุจิตตรา พงศ์ประสบชัย. การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด. รามาธิบดีพยาบาลสาร. 2562;25(3);254-54.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-03-05

Versions