การวิจัยเชิงประเมินผลโครงการใกล้บ้านใกล้ใจ ห่วงใยผู้ป่วยจิตเภทในหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ โรงพยาบาลปทุมรัตต์

ผู้แต่ง

  • เอกชัย พลหนองคูณ โรงพยาบาลปทุมรัตต์

คำสำคัญ:

การวิจัยเชิงประเมินผล, ใกล้บ้านใกล้ใจ, ผู้ป่วยโรคจิตเภท

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อประเมินบริบท  ปัจจัยนำเข้า  กระบวนการ และผลผลิตของโครงการใกล้บ้าน ใกล้ใจ ห่วงใยผู้ป่วยจิตเภทในหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ โรงพยาบาลปทุมรัตต์

รูปแบบการประเมิน : การวิจัยเชิงประเมินผล (Evaluation research ;summative evaluation)

วัสดุและวิธีการประเมิน : กลุ่มเป้าหมายเป็นคณะกรรมการโครงการฯ 16 คนและญาติหรือผู้ดูแลผู้ป่วย 55 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็น แบบประเมินความพึงพอใจและแบบประเมินอาการทางจิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการประเมิน : การประเมินโครงการฯ ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า และด้านกระบวนการ โดยรวมอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด (µ= 4.53, gif.latex?\fn_jvn&space;\sigma= 0.40; µ=3.67, gif.latex?\fn_jvn&space;\sigma= 0.55; µ= 4.30, gif.latex?\fn_jvn&space;\sigma= 0.48) ตามลำดับ และผลการประเมินผ่านเกณฑ์ทุกด้าน ส่วนด้านผลผลิต พบว่า ผู้รับบริการหรือญาติมีความพึงพอใจต่อโครงการฯ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (µ= 4.46, gif.latex?\fn_jvn&space;\sigma= 0.08) ความคิดเห็นต่อโครงการฯ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (µ= 4.59, gif.latex?\fn_jvn&space;\sigma= 0.67) และผู้ป่วยมีอาการทางจิตอยู่ในระดับน้อย (≤ 36 คะแนน) 43 คน (78.20%)

สรุปและข้อเสนอแนะ : ผลการดำเนินงานตามโครงการฯ ครั้งนี้ส่งผลให้ผู้รับบริการหรือญาติได้รับประโยชน์จากโครงการ ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรนำโครงการนี้ไปแก้ปัญหาในพื้นที่ที่มีบริบทใกล้เคียงกัน และอาจนำโครงการนี้ไปปรับใช้กับกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น เบาหวาน หรือความดันโลหิตสูงได้

References

กระทรวงสาธารณสุข. แผนพัฒนาสุขภาพจิตในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555-2559) ด้านสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข; 2557.

Tandon R, Bruijnzeel D, Rankupalli B. Does change in definition of psychotic symptoms in diagnosis of schizophrenia in DSM-5 affect caseness? Asian Journal of Psychiatry. 2013;6(4):330-2.

Staring AB,Van der Gaag M, Mulder CL. Schizophrenia and antipsychotic medication-better adherence, better outcomes?. Schizophrenia Research. 2013;151(1-3):296-7.

Harrow M, Jobe TH. Does long-term treatment of schizophrenia with antipsychotic medications facilitate recovery?. Schizophrenia bulletin. 2013;39(5):962-5.

วัชรินทร์ วุฒิรณฤทธิ์. การส่งเสริมความร่วมมือในการรับประทานยาสำหรับผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. 2560;31(1):1-12.

Brain C, Allerby K, Sameby B, Quinlan P, Joas E, Karilampi U, et al. Drug attitude and other predictors of medication adherence in schizophrenia: 12 months of electronic monitoring(MEMS(R)) in the Swedish COAST- study. European Neuropsychopharmacol. 2013;23(12):1754-62.

Gaebel W, Riesbeck M, Wilmsdorff MV, Burns T, Derks EM, Kahn RS, et al. Drug attitude as predictor for effectiveness in first-Episode schizophrenia:Results of an open randomized trial (EUFEST). European Neuropsychopharmacology. 2010;20(5):310-6.

สายรุ้ง จันทร์เส็ง. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ที่เป็นโรคจิตเภทในโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ [วิทยานิพนธ์]. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2548.

Kongsakon R, Kanchanatawan B. Cost analysis of treatment for schizophrenic patients in social security scheme,Thailand. ASEAN Journal of Psychiatry. 2007;8(2):118-123.

Bressington D, Mui J, Gray R. Factors associated with antipsychotic medication adherence in community-based patients with schizophrenia in Hong Kong: a cross sectional study. International Journal of Mental Health Nursing. 2013;22(1):35-46.

Keith SJ, Kane JM. Partial compliance and patient consequences in schizophrenia: our patients can do better. Journal of Clinical Psychiatry. 2003;64(11):1308-15.

Lacro JP, Dunn LB, Dolder CR, Leckband SG, Jeste DV. Prevalence of and risk factors for medication non adherence in patients with schizophrenia: a comprehensive review of recent literature. Journal of Clinical Psychiatry. 2002;63(1):892-909.

Masand PS, Roca M, Turner MS, Kane JM. Partial adherence to antipsychotic medication impacts the course of illness in patients with schizophrenia: a review. Primary Care Companion to the Journal of Clinical Psychiatry. 2009;11(4):147-54.

มาโนช หล่อตระกูล, ปราโมทย์ สุคนิชย์. จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: บี ยอนด์ เอ็นเตอร์ไพรซ์; 2552.

ณัฐติกา ชูรัตน์. การศึกษาสาเหตุและแนวทางการป้องกันการกลับเป็นซ้ำของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปิเหล็งที่ประสบเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 2559;3(1):24-36.

โรงพยาบาลปทุมรัตต์. กลุ่มงานการพยาบาล. ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ ปี พ.ศ.2563. ร้อยเอ็ด: โรงพยาบาล; 2563.

World Health Organization. Adherence to long- term therapy: Evidence for action. Geneva: WHO; 2003.

El-Missiry A, Elbatrawy A, El Missiry M, Moneim DA, Ali R, Essawy H. Comparing cognitive functions in medication adherent and non-adherent patients with schizophrenia. Journal of Psychiatric Research. 2015;70:106-12.

Stufflebeam DL, Shinkfield AJ. Evaluation Theory, Models and Applications. San Francisco: Jossey-Bass; 2007.

Beebe LH, Smith K, Crye C, Addonizio C, Strunk DJ, Martin W, et al. Telenursing intervention increases psychiatric medication adherence in schizophrenia outpatients. Journal of the American Psychiatry Nurses Association. 2008;14(3):217-24.

กรมสุขภาพจิต. คู่มือระบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรงสำหรับสถาบัน/โรงพยาบาล สังกัดกรมสุขภาพจิต. นนทบุรี: พรอสเพอรัสพลัส; 2563.

เพ็ญแข ศิริวรรณ และคณะ. สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: เท็กข์แอนด์เจอร์นัลพับลิเคชั่น; 2551.

หวาน ศรีเรือนทอง, กนกกาญจน์ วิโรจน์อุไรเรือง, ธีราภา ธานี, กมลทิพย์ สงวนรัมย์. การวิจัยประเมินผลโครงการพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยโรคจิตเวชในเขตสุขภาพที่ 10. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2560;26(2):362-71.

ประหยัด ประภาพรหม, ราณี พรมานะจิรังกุล, มธุริน คำวงศ์ปิน. การประเมินผลโครงการการพัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาลจิตเวช งานบริการผู้ป่วยในโรงพยาบาลจิตเวชสวนปรุง. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. 2554;25(2):92-101.

สุพรรณ มหิตธิ. การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนโดยเครือข่ายสุขภาพอำเภอพาน. เชียงราย: กลุ่มงานเวชศาสตร์ชุมชน โรงพยาบาลพาน; 2561.

กำทร ดานา. การพัฒนาบทบาทการดูแลผู้ป่วยจิตเวชของครอบครัวและภาคีเครือข่ายในชุมชน. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2564;30(3):406-14.

หทัยกาญจน์ เสียงเพราะ. การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่กลับมารักษาซ้ำโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์. 2564;36(2):413-26.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-04-22 — Updated on 2022-04-22

Versions