ผลของโปรแกรมการกระตุ้นการทำงานสมองที่มีต่อสมรรถภาพสมองของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลตำบลสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด
คำสำคัญ:
การกระตุ้นการทำงานสมอง, สมรรถนะสมอง, ผู้สูงอายุบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบสมรรถภาพสมองของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลสุวรรณภูมิ
รูปแบบการวิจัย: Qua-si experimental แบบ One group pre-test posttest design
วัสดุและวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การคัดเข้า และคัดออก จำนวน 30 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และแบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย: MMSE–Thai 2002) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติเชิงอ้างอิง Dependent t-test กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และความเชื่อมั่นที่ 95% Confidence Interval difference
ผลการวิจัย: หลังการพัฒนา พบว่า ผู้สูงอายุมีคะแนนเฉลี่ยของสมรรถภาพสมองมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <.001) โดยมีคะแนนเฉลี่ยสมรรถภาพสมองเพิ่มขึ้นเท่ากับ 3.00 คะแนน (95% CI; 2.387, 3.612)
สรุปและข้อเสนอแนะ: การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการกระตุ้นการทำงานสมอง ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีสมรรถภาพสมองเพิ่มขึ้น
References
เมื่อ 5 เม.ย.2560]. เข้าถึงได้จาก: https://www.m-society.go.th/article_attach/11319/15636.pdf
2. วิชัย เอกพลากร (บรรณาธิการ). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย
ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ: เดอะ กราฟิกซิสเต็มส์, 2557.
3.โรงพยาบาลสุวรรณภูมิ. ผลการปฏิบัติงานยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอสุวรรณภูมิ.
จังหวัดร้อยเอ็ด, 2559.
4. รินทร ฉันศิริกาญจน. รูปแบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุในสถานบริการสุขภาพ “ภาวะสมองเสื่อม”
ในคู่มือแนวทางการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุในสถานบริการสุขภาพ. นนทบุรี: กรมการแพทย์; 2558.
5.สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ. รายงานการวิจัยการพัฒนาศักยภาพ
สมองของผู้ที่มีสมรรถภาพสมองบกพร่องในระยะต้น พ.ศ. 2557-2558. นนทบุรี:
กระทรวงสาธารณสุข. 2559.
6. Olazaran, J. Mild cognitive impairment and dementia in primary care: the value of medical
history. Family Practice. 2011; 28: 385-392.
7. Wilson, R., Scherr, P., Scheider, J., et al. Relation of cognitive activity to risk of developing
Alzheimer disease. Neurology. 2007;69:1991-1920.
8.ดาวชมพู นาคะวิโร, สิรินทร ฉันศิริกาญจน,พัฒน์ศรี ศ รีสุวรรณ, อรพรรณ แอบไธสง,
ภัทรา สุดสาคร, จารุณี วิทยาจักษุ์ และภัทรพร วิสาจันทร์. การกระตุ้นความสามารถของสมอง
ด้านทักษะการจัดการความใส่ใจ ความจำและมิติสัมพัทธ์ในผู้ที่มีสมรรถภาพสมองบกพร่องระยะต้น.
วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 2560; 62:337-348.
9. Atkinson, R. C, & Shiffin, R. M. Psychology: Principles and application (2nd ed).
New Jersey: Prentice Hall, 1997.
10. Kleinman. Patients and Healers in the Context of Culture: An Exploration of the Borderland
between Anthropology Medicine and Psychiatry, Berkley. London: University of California Press,
1980.
11.Reijnders, J., Heugten, C. V., & Boxtel, M. V. Cognitive interventions in healthy older Adults
and people with mild cognitive impairment: A systematic review. Ageing Research Reviews,
12(1): 2013: 263-75.
12.รัชนี ศรีเจียงคำ. ประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมฝึกความจำ ในผู้สูง อายุทีมี่ภาวะสมอง เสื่อม
ระยะแรกในคลินิกความจำโรงพยาบาลลำปาง (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2557.
13.Greenway, M. C., Duncan, N. L., Smith, G.E. The memory support system for mild Cognitive
impairment: Randomized trial of a cognitive rehabilitation intervention. International
Journal of geriatric psychiatry, 28(4): 2013; 402–409.
14.Woods, B., Aguirre, E., Spector, A.E., & Orrell, M. (2012). Cognitive stimulation to improve
Cognitive functioning in people with dementia. Retried from http://www.The cochranelibrary.com/
details/file/.../CD005562.html
15. Fahimi, A., & et al. Physical exercise induces structural alterations in the hippocampal
astrocytes: Exploring the role of BDNF-TrkB signaling. Brain Structure and Function, 222(4):
2017; 1797-1808.
16.นปภัช กันแพงศรี และจิราพร เกศพิชญวัฒนา. ผลของโปรแกรมกิจกรรมศิลปะต่อการเห็นคุณค่า
ในตนเองของผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมระยะแรก. 2557: 164-177.
17.ไพรัช มโนสารโสภณ. ผลของโปรแกรมฟื้นฟูสุขภาพที่มีต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ
ติดบ้าน อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 15 (1): มกราคม – เมษายน 2563; 13-23.
18.จุฑามาศ วงจันทร์, มยุรี ลี่ทองอิน และสิริมาศ ปิยะวัฒนพงศ์. ผลของโปรแกรมบริหารสมองต่อการรู้
คิดในผู้สูงอายุ. วารสารสภาการพยาบาล. 35(2): เมษายน-มิถุนายน 2563 ; 71-84.
19.จารุวรรณ ก้านศรี, รังสิมันต์ สุนทรไชยา, นภัทร เตี๋ยอนุกูล, ภัทรวดี ศรีนวล,นภัสสร ยอดทองดี
และเกรียงศักดิ์ ยศพิมพ์. ผลของโปรแกรมการฝึกความจำด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อความสามารถ
ในการจำของผู้สูงอายุที่มีความจำบกพร่องเล็กน้อย.พยาบาลสาร. 44 (พิเศษ): ธันวาคม 2560; 12-21.
20. วีณา ลิ้มสกุล, บุรินทร์ เอี่ยมขำ และปุณยนุช คงเสน่ห์. การพัฒนาศักยภาพสมองของผู้ที่มีสมรรถภาพ
สมองบกพร่องในระยะต้น. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11. 32 (3): กรกฎาคม-กันยายน 2561; 1143-
1145.
21.จารุวรรณ ก้านศรี, ดลใจ จองพานิช,นภัทร เตี๋ยอนุกูล,ภัทรวดี ศรีนวล และรังสิมันต์ สุนทรไชยา.
ผลของโปรแกรมบริหารสมองต่อการเพิ่มความจำในผู้สูงอายุที่มีความจำพร่องเล็กน้อย.
วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 27(3): กันยายน-ธันวาคม 2560: 176-187.
22.สุทธิศรี ตระกูลสิทธิโชค และอาทิตยา สุวรรณ์. ผลของโปรแกรมการกระตุ้นการรู้คิดต่อ
ความสามารถในการรู้คิด และความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุที่เสี่ยงหรือมีภาวะ
สมองเสื่อม. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย. 9 (ฉบับพิเศษ 2); กรกฎาคม-ธันวาคม 2559: 145-157.
23.ลุตฟี สะมะแอ, เพลินพิศ ฐานิวัฒนานนท์ และวิภาวี คงอินทร์. ผลของโปรแกรมฝึกสมองตามหลัก
ปรัชญามอนเตสซอรี่บนฐานวิถีชีวิตมุสลิมต่อการเสริมสร้างพุทธิปัญญาในผู้สูงอายุมุสลิมกลุ่มเสี่ยง
ต่อภาวะสมองเสื่อม. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. 8(2): พฤษภาคม-สิงหาคม
2559: 16-27.
24. ชัชวาล วงค์สารี. บทบาทพยาบาลกับการส่งเสริมครอบครัวในการชะลอภาวะสมองเสื่อมระยะเริ่มต้น
ในผู้สูงอายุ. ว. วิทย. เทคโน. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 4 (2); กรกฎาคม - ธันวาคม 2561; 102-111.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สันักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
บทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ถือเป็น ผลงานวิชาการ งานวิจัย วิเคราะห์ ตลอดจนเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้ประพันธ์ กองบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็น ด้วยเสมอไป และผู้ประพันธ์จะต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง