การประเมินผลสัมฤทธิ์งานบริการให้การปรึกษาตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการพยาบาลโดยใช้รูปแบบ CIPPIEST
คำสำคัญ:
รูปแบบการประเมิน CIPPIEST ผลสัมฤทธิ์ งานบริการให้การปรึกษา การประกันคุณภาพบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์งานบริการให้การปรึกษาตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการพยาบาลโดยใช้รูปแบบ CIPPIEST
รูปแบบการวิจัย: เป็นวิจัยเชิงประเมินผลโดยประยุกต์แบบจำลอง CIPPIEST MODEL ของ Stufflebeam ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิต ผลกระทบ ประสิทธิผล ความยั่งยืนและการถ่ายโยงความรู้
วัสดุและวิธีการวิจัย:กลุ่มผู้ให้ข้อมูลได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงจำนวน 12 คน ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพในงานบริการให้การปรึกษา 4 คน หัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้างาน 2 คน และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล 6 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แบบประเมินการประกันคุณภาพการพยาบาลของกองการพยาบาลจำนวน 7 หมวด 48 หัวข้อ 144 ข้อกำหนด 2) แบบสอบถามความรู้ในการประกันคุณภาพการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ และ 3) แบบสอบถามประสิทธิภาพและประสิทธิผลการประกันคุณภาพการพยาบาล มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 และ 0.93 วิเคราะห์โดยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความรู้ในการประกันคุณภาพการพยาบาลก่อนและหลังของพยาบาลวิชาชีพด้วยสถิติทดสอบค่าที ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: ผลสัมฤทธิ์งานบริการให้การปรึกษาภาพรวมอยู่ในระดับมาก (NQA Award)เมื่อพิจารณาผลการประเมินรายด้านพบว่า ด้านที่ผ่านเกณฑ์ได้แก่ 1) ด้านบริบท หมวด1การนำองค์กร และหมวด2 กลยุทธ์ ภาพรวมระดับมาก 2) ด้านผลผลิต หมวด 7ผลลัพธ์ทางการพยาบาล คือ (1) ด้านผลกระทบ (2) ด้านประสิทธิภาพประสิทธิผลภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) ด้านความยั่งยืน และด้านการถ่ายโยงความรู้ หมวด4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ส่วนด้านที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้แก่ 3) ด้านปัจจัยนำเข้า หมวด3ผู้ใช้บริการ และหมวด5บุคลากร ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ4) ด้านกระบวนการหมวด6 การปฏิบัติการพยาบาลภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง
สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลสัมฤทธิ์งานบริการให้การปรึกษามีแนวโน้มที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพการพยาบาลที่กำหนด ควรหาโอกาสพัฒนาปรับปรุงในประเด็นที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ และมีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
References
2. สำนักการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. การประเมินคุณภาพการพยาบาลในโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์สื่อตะวัน; 2555.
3. สายสมร เฉลยกิตติ และทิพย์ฆัมพร เกษโกมล. การให้บริการปรึกษาทางสุขภาพ: การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล. วารสารพยาบาลตำรวจ. 2558; 7(1): 253-261.
4. กรวสา คงขวัญ. ผลการดำเนินโครงการการให้คำปรึกษาทางจิตวิทยาแก่ผู้ป่วยมะเร็งรายกลุ่ม. ใน: ประชุมวิชาการกรมสุขภาพจิต ครั้งที่ 6; 6-8 กันยายน 2543; ณ ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง. อุบลราชธานี; 2543.
5. ผ่องศรี ศรีมรกต, รุ้งนภา ผาณิตรัตน์. แบบจำลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการรับรู้ภาวะความเจ็บป่วย ความวิตกกังวลแบบแฝง ความวิตกกังวลขณะเผชิญความซึมเศร้า ความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าและขวัญกำลังใจในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับรังสีรักษา. วารสารวิจัยทางการพยาบาล. 2540; 1: 167-86.
6. Lazarus RS, Folkman S. Stress, appraisal, and coping. New York: Springer; 1984.
7. สมจิต หนุเจริญกุล และคณะ. รูปแบบการพัฒนาศักยภาพในการดูแลตนเองในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก. วารสารวิจัยทางการพยาบาล. 2540; 1: 258-81.
8. นิภา ชุติฉัตรชัย. ปัญหาทางด้านจิตใจและสังคมของผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกที่อยู่ในระหว่างการ บำบัดรักษาเฉพาะในโรงพยาบาลรามาธิบดี, โรงพยาบาลศิริราช, สถาบันมะเร็งแห่งชาติ [วิทยา นิพนธ์]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร; 2523.
9. Tarrant C, Sinfield P, Agarwal S, et al. Is seeing a specialist nurse associated with positive Experiences of care? The role and value of specialist nurses in prostate cancer care. BMC Health Serv Res 2008; 27;8:65.
10. Viklund P, Wengstrom Y, Lagergren J. Supportive care for patients with oesophageal and other upper gastrointestinal cancers: The role of a specialist nurse in the team. Eur J Oncol Nursing. 2006; 10:353-63.
11. สมจิต หนุเจริญกุล และคณะ. ประสิทธิภาพและความคุ้มค่าของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงในระบบสุขภาพไทย สำ นักงานเลขานุการวุฒิสภา. 2554.
12. คณะกรรมการจัดทำคู่มือให้บริการปรึกษาโรคมะเร็ง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือ การให้บริการปรึกษาโรคมะเร็ง. กรุงเทพมหานคร: กรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข; 2543.
13. โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. สารสนเทศงานบริการให้การปรึกษาปี 2560-2562.
14. งานบริการให้การปรึกษา โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. สรุปการประเมินตนเองงานบริการให้การปรึกษาปี 2560-2562.
15. Stufflebeam, D. L., and Shinkfield, A. J.. Evaluation: theory, models and applications. San Francisco: Jossey-Bass. 2007.
16. บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น.กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น; 2543.
17. Henry K. Beecher, Ethics and Clinical Research, New England Journal or Medicine 274 (1966): 1354-60.
18. สมพรรณ ไกรษร และมาริสา ไกรฤกษ์. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของพยาบาลวิชาชีพและภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้างานกับการปฏิบัติกิจกรรมการประกันคุณภาพการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดชัยภูมิ. วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 2555; 30(2) :32-39.
19. Pongsriwat S. Leadership: Theory and Practice. Chiangrai: Chiangrai Rajabhat University. 2002.
20. Bennett TM. The Relationship Between The Subordinate’s Perception Of The Leadership Style Of IT Managers And The Subordinate’s Perceptions OfManage’s Ability ToInspire Extra Effort, To Be Effective, And EnhanceSatisfactionWithManagement.ProceedingsoftheAcademyofInformation and Management Sciences. 2009; 13(1). (Internet). 2009 (cited 2009 Dec 12). Available from: http://vpn.kku.ac.th/DanaInfo=proquest.umi.com.
21. Rowold J, Heinitz K. Transformational and Charismatic Leadership: Assessing the convergent, divergent and criterion validity of the MLQ and the CKS. The Leadership Quarterly 2007; 18(2), 121- 133. (Internet). 2007(cited 2010 Jan 18). Available from http://vpn.kku.ac.th/ DanaInfo = sciencedirect.umi.com.
22. Taylor DJ. Nurse Executive Transformational leadership Found in Participative Organizations. Journal Organization Nursing Administration 2000; 30(5): 241-250.
23. Laohavichien T, Fredendall LD, Cantrell RS. The Effects of Transformational and Transactional Leadership on Quality Improvement. The Quality Management Journal 2009; 16(2): 7-24.
24. Phouthavong O, KrairikshM. The Relationship between Head Nurse’s Leadership with Job Satisfaction of Staff Nurse in Vientiane Capital Centre Hospital. Journal of Nurses’ Association of Thailand, North Eastern Division 2010; 29(1): 51-58.
25. Rakpuangchon W. The Impact of the Law Protecting VictimsofPublic HealthServicestothe Nursing Profession. Journal of Nurses’ Association of Thailand, North-Eastern Division 2010; 29(1): 5-11.
26. KanjanastienR. Relationship between Personal Factors, Motivation and Control System in Nursing Care Quality Perceived by Head Nurses in Regional Hospital, Ministry of Public Health, Thailand.(Thesis).Khonkaen: Khonkaen University; 2005.
27. Bass BM. Leadership and Performance beyond Expectation. New York: The Free Press, 1985.
28. Thipornpan K. Relationships between Head Nurse’s Transformational Leadership as Percieved by Staff Nurses and Practice of Staff Nurses in Hospital Accreditation Project of Regional Medical Centers Being under the Ministry of Public Health. (Thesis). Khonkaen: Khonkaen University; 2002.
29. สำนักการพยาบาล กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. ยุทธศาสตร์การบริการพยาบาลระดับประเทศ พ.ศ. 2551-2555. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:สามเจริญพาณิชย์; 2551.
30. ชุติกาญจน์ หฤทัย และคณะ. การพัฒนาระบบบริการพยาบาลสำหรับโรงพยาบาลชุมชนที่ได้รับการยกฐานะ. วารสารกองการพยาบาล. 2559; 43(1): 113-134.
31. ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล และสุรวีร์ เพียรเพชรเลิศ. การประเมินโครงการฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพสมรรถนะพยาบาลที่สําเร็จการศึกษาใหม่ภายใต้ระบบพี่เลี้ยงด้วยรูปแบบการประเมิน CIPPIEST.วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 2560; 9(1): 358-371.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
Versions
- 2022-08-25 (2)
- 2020-02-28 (1)
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 สันักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
บทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ถือเป็น ผลงานวิชาการ งานวิจัย วิเคราะห์ ตลอดจนเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้ประพันธ์ กองบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็น ด้วยเสมอไป และผู้ประพันธ์จะต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง