ความชุกและปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราการกรองไตของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในโรงพยาบาลหนองหาน จังหวัดอุดรธานี
คำสำคัญ:
ความชุก, ปัจจัยที่ส่งผล, อัตราการกรองไต, เบาหวาน, ความดันโลหิตสูงบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราการกรองไตของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลหนองหาน จังหวัดอุดรธานี
รูปแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง (Cross-sectional descriptive study)
วัสดุและวิธีการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มารับบริการที่โรงพยาบาลหนองหาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562-2563 จำนวน 401 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบบันทึกจากเวชระเบียน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 95% Conf.Interval และ Multiple Regression Analysis (MRA)
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 401 คน ความชุกของอัตรากรองไตส่วนใหญ่อยู่ใน Stage 3b จำนวน 130 คน (32.4%) และ Stage 4+ จำนวน 130 คน (32.4%) และปัจจัยที่ส่งผลต่ออัตราการกรองไตของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลหนองหานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 95% Conf. Interval มี 5 ปัจจัย คือ Serum creatinine, Time_DM, High-density lipoprotein cholesterol (HDL), Diastolic Blood Pressure (DBP), และ Systolic Blood Pressure (SBP)
สรุปและข้อเสนอแนะ : ความชุกของอัตราการกรองอยู่ใน stage 3b และ stage 4+ สาเหตุเกิดจากผู้ป่วย ไม่สามารถควบคุม Serum creatinine, HDL, DBP และ SBP ได้ ดังนั้น ผู้เกี่ยวข้องควรเน้นพัฒนาโปรแกรม/กิจกรรมหรือคืนข้อมูลอัตราการกรองไต เพื่อให้ผู้ป่วยได้ตระหนักพฤติกรรมการบริโภค เพื่อป้องกันหรือชะลอไตเสื่อมให้กับกลุ่มเป้าหมายนี้อย่างต่อเนื่อง
References
Laliberte F., Bookhart BK.,Vekemab F.,Corral M.,Duh MS.,Bailey RA.,et al. Direct all-cause health care costs associated with chronic kidney disease in patients with diabetes and hypertension: a managed care perspective. J Manag Care Pharm. 2009;15(4):312-22.
Afkarian M.,Sachs MC.,Kestenbaum B.,Hirsch IB.,tuttle KR.,Himmelfarb J.,et al.Kidney disease and increased mortality risk in type 2 diabetes. J Am Soc Nephrol. 2013;24(2):302-8.
โรงพยาบาลหนองหาน. งานแผนงานและยุทธศาสตร์.แผนยุทธศาสตร์ปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2565. อุดรธานี: โรงพยาบาล; 2562.
Paveena S, Somjit A, Kajorn T, Somchai T. Hypertension and kidney: Text book of nephrology. Bangkok: Bangkok text and journal pub; 2011.
Cummings DM, Larsen LC, Doherty L, Lea CS, Holbert D. Glycemic Control Patterns and Kidney Disease Progression among Primary Care Patients with Diabetes Mellitus. J Am Board Fam Med 2011;24(4):391- 98.
พิมพ์สุภัค ปานเพียรกุลภัค. ผลของโปรแกรมควบคุมอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในคลินิกชะลอไต เสื่อม โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย 2559;6(3):205-15.
นันท์นลิน สิมพา, สุกัณ คัณธสอน, อุบลวรรณ นิรันสวย, เลยนภา โคตรแสนเมือง, ศุภศิลป์ ดีรักษา. ความชุกและปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคลที่มีผลต่ออัตราการกรองไต (GFR) ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในเขตพื้นที่อำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม2563;16(3):53-62.
ธวัช วิเชียรประภา,พรฤดี นิธิรัตน์, ปี่นนเรศ กาศอุดม, คาลิมา สำแดงสาร. เปรียบเทียบอัตราการกรองของไต ก่อนและหลังการรับบริการที่คลินิกชะลอไตเสื่อมของผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ระยะที่ 3 โรงพยาบาลขลุง อำเภอ ขลุง จังหวัดจันทบุรี. The Journal of Baromarajonani College of Nursing. 2019;25(2):138-47.
อนันท์ เรืองบุญ, พีรวิชญ์ พาดี, จารุวรรณ ประดิษฐ์พงษ์, เยาวลักษณ์ เรียงอิศราง, อำภา คนซื่อ. รูปแบบการ ส่งเสริมและฟื้นฟูสภาพอัตราการกรองของไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2562;28 (ฉบับเพิ่มเติม 2):122-9.
อัจฉรา เจริญพีวิยะ, อุดมศักดิ์ แช่โง้ว, งามจิต คงทน. ความชุกโรคไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช. วารสารวิชาการแพทย์ เขต 11. 2560;31(1):73-82.
กัตติกา หาลือ. ความชุกของโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่รักษาในโรงพยาบาลและการ ควบคุมความดันโลหิต โรงพยาบาลพะเยา. วารสารสาธารณสุขล้านนา. 2563;6(2):212-5.
Rodriguez-Pocelas A, Mondel-Tuduri X, Miravel-Jiminez S, Casellas A, Barrot-De la Puente JF, Franch-Nadal J, et al. Chronic Kidney Disease and Diabetic Retinopathy in Patients with Type 2 Diabetes. PLOS ONE. 2016; 11(2):e0149448.
Lin HT, Zheng CM, Wu YC, Chang YH, Chen JT, Laing CM, et al. Diabetes Retinopathy as a Risk Factor for Chronic Kidney Disease Progression: A Multicenter Case-control Study in Taiwan. Nutrients. 2019;1(2):doi:10.3390/nu11030509.
Jia W, Gao X, Pang C, Hou X, Bao Y, Liu W, et al. Prevalence and risk factors of albuminuria and chronic kidney disease in Chinese population with type 2 diabetic and impaired glucose regulation: Shanghai diabetic complication study (SHDCS). Nephrology Dialysis Transplantation. 2009;24(12):3724- 31.
วสุอนันต์ ทองดี, บรรจง กิตติสว่างวงศ์, จินตนา ทองดี, ประสิทธิ์ หมั่นดี. การประเมินการลดลงอัตราการ กรองผ่านไตเพื่อการพยากรณ์ความเสี่ยงการเกิดโรคไตเสื่อมเรื้อรัง และการพัฒนา Application Thai CKD Risk Calculation. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2563:29(2):240-51.
เกศริน บุญรอด. ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนระยะโรคไตวายเรื้อรัง โรงพยาบาลไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11. 2562;33(3):367-78.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
บทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ถือเป็น ผลงานวิชาการ งานวิจัย วิเคราะห์ ตลอดจนเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้ประพันธ์ กองบรรณาธิการไม่จําเป็นต้องเห็น ด้วยเสมอไป และผู้ประพันธ์จะต้องรับผิดชอบต่อบทความของตนเอง