กระบวนการพัฒนากลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพเครือข่ายสุขภาพ อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด

ผู้แต่ง

  • นรากร สุทธิประภา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด
  • ยุทธนา ผือโย สำนักงานสาธารณสุขอำเภอจตุรพักตรพิมาน ร้อยเอ็ด

คำสำคัญ:

การพัฒนากลยุทธ์, การสร้างเสริมสุขภาพ, เครือข่ายสุขภาพ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนากลยุทธ์และประเมินผลกลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพเครือข่ายสุขภาพอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด
รูปแบบการวิจัย : การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research)
วัสดุและวิธีการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้รับผิดชอบงานยุทธศาสตร์และแผนงานของแต่ละโรงพยาบาลชุมชน   สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 35 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้สูตรสัมประสิทธิแอลฟ่า (Coefficient) ของครอนบัค (Cronbach) เท่ากับ 0.94 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย : กลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพเครือข่ายสุขภาพประกอบด้วย 1) การวิเคราะห์สถานการณ์  2) การวางแผน 3) การพัฒนากลยุทธ์ 4) การดำเนินงาน และ 5) การประเมินผลมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก (µ=4.27, = 0.51) และผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์รอบ 12 เดือน คิดเป็นร้อยละ 97.46
สรุปและข้อเสนอแนะ:  ผลการวิจัยครั้งนี้ส่งผลให้ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์เพิ่มขึ้น ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวควรนำกลยุทธ์นี้ไปใช้ในเครือข่ายสุขภาพต่อไป

References

วรเดช จันทรศร. ทฤษฎีการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: พริกหวาน กราฟฟิค; 2556.

Kaplan, R. and Norton, D. The Office of Strategy Management. Harvard Business Review 2005 ;10: 83.

Michael, C. et al. The Strategic Gap. Danvers. United States: Wiley; 2003.

Daft, R.L. Management[Internet]. 9th ed. Ohio: South-Western College Pub; 2008 [cited 2019 Aug 10]. Available from http://www.bms.lk/download/GDM_Tutorials/e-books/Management.pdf

Kaplan, R. and Norton, D. The Office of Strategy Management. Harvard Business Review 2001 ;10: 125.

ศศิวรรณ ต้นกันยา, ศิริศักดิ์ จันฤาไชย, รังสรรค์ โฉมยา. ปัญหาและแนวทางการนำแผน กลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ขอนแก่น เขต 4. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2559;10:164-177.

เกริกยศ ชลายนเดชะ. การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช; 2553.

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอจตุรพักตรพิมาน. ผลการประเมินยุทธศาสตร์สาธารณสุขปี พ.ศ. 2563. ร้อยเอ็ด: สำนักงานสาธารณสุขอำเภอจตุรพักตรพิมาน; 2563.

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. นโยบายสาธารณะ: แนวคิด การวิเคราะห์และกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: เอสเอนด์จีกราฟฟิก; 2540.

สินีนาฏ ทิพย์มูสิก. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิสังกัดกระทรวง สาธารณสุข [วิทยานิพนธ์]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยคริสเตียน; 2561.

John W. Best and James V. Kahn. Research in education. Boston : Allyn and Bacon; 2006.

ศุภักษร ฟองจางวาง. กอบสุข คงมนัส. การศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน แบบผสมผสานโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ เรื่อง การเขียนโปรแกรมขั้นพื้นฐานด้วยภาษาจาวา สคริปต์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. Veridian E-Journal,Silpakorn University ฉบับ ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ และศิลปะ 2559;9:937-953.

Best, J.W. & Kahn, J. V. Research in Education. 9th ed. Boston: Allyn and Bacon; 2003

เรือนทอง ไวทยะพานิช. กระบวนการพัฒนาแผนกลยุทธ์ชุมชนเพื่อการรู้ดิจิทัลและการส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิตด้านการรู้ดิจิทัลสำหรับผู้ใหญ่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและ เทคโนโลยีอีสเทิร์น 2563;17:437-455.

ศิริพรรณ บุตรศรี. การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อควบคุมและป้องกันโรคความดัน โลหิตสูงและโรคเบาหวานในผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2558.

ประภัสสร ผิวหอม. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จังหวัดสุรินทร์ [วิทยานิพนธ์]. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี; 2557.

สันติ ทวยมีฤทธิ์. การพัฒนากระบวนการบริหารยุทธศาสตร์สุขภาพ จังหวัดนครราชสีมา. วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2563;14:52-70.

สำราญ เจริญผล. รูปแบบการดำเนินงานตามมาตรการในยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560-2564 ของเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารแพทย์เขต 4-5 2564;40:113-124.

สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบบริการสุขภาพ. การศึกษากระบวนการถ่ายทอดตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงานหลักลงสู่การปฏิบัติใน 12 เขตสุขภาพ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบบริการ สุขภาพ; 2558.

นันทพัทธ์ ธีระวัฒนานนท์. การประเมินผลการดำเนินงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา 2563;6:90-107.

นิศาชล ศรีหริ่ง. การประเมินผลการพัฒนาศักยภาพการทำงานตามยุทธศาสตร์สุขภาพ สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดราชบุรีระยะ 2 ปี (ปี 2557-2558). วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธานี 2559;24:84-93.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-05-28