ความก้าวหน้าใหม่ ๆ ของเคมีบำบัดโรคเรื้อน

ผู้แต่ง

  • อารดา โอวาทตระกูล Department of Medicine, Police Hospital
  • ทวีฤทธิ สิทธิเวคิน Watmonkut Skin Clinic, Department of Disease Control, Ministry of Public Health

คำสำคัญ:

ความก้าวหน้าใหม่ ๆ, ยาเคมีบำบัด โรคเรื้อน

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทบทวนความก้าวหน้าใหม่ ๆ ของเคมีบำบัดโรคเรื้อน หลังจากได้มีการนำระบบการรักษาโรคเรื้อนด้วยยาเคมีบำบัดผสมแบบใหม่ตามข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก (WHO – MDT) มาสามทศวรรษ ได้มีรายงานพบการเกิดการกลับเป็นโรคเรื้อนซ้ำใหม่หลังหยุดยา (Relapse) และเกิดการดื้อยา โดยได้ทบทวนยาเคมีบำบัดรองสายที่สองและยาใหม่ๆที่มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อโรคเรื้อนสูงเมื่อเทียบกับ WHO - MDT ได้แก่ ยาโอฟล๊อกซาซิน, ไมโนซัยคลิน, คลาริโทรมัยซิน, ม็อกซี่ฟล๊อกซาซิน, และไรฟาแพนทีน โดยเฉพาะยาไรฟาแพนทีน พบว่ามีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อโรคเรื้อนสูงมากกว่ายาไรแฟมพิซิน ทั้งจากการทดรองทั้งในหนูและในคน ผลการทดรองใช้ยาเคมีบำบัดผสมระหว่าง ไรฟาแพนทีน, แม็กซี่ฟล๊อกซาซิน และไมโนซัยคลินครั้งเดียวสามารถฆ่าเชื้อโรคเรื้อนตายมากกว่าการใช้ยาไรแฟมนิซินครั้งเดียว ขณะที่การใช้ยาผสมระหว่างไรฟาแพนทีน,       ม็อกซี่ฟล็อกซาซิน และไมโนซัยคลินครั้งเดียวสามารถฆ่าเชื้อโรคเรื้อนได้มากกว่าการใช้ยาผสมระหว่างไรแฟมพิซิน, โอฟล๊อกซาซิน และไมโนซัยคลินถึง 50 เท่า นอกจากนั้นยังได้ศึกษาทบทวนการใช้ยาเคมีบำบัดผสมระยะสั้นนาน 4 สัปดาห์ โดยยาผสมระหว่างโอฟล๊อกซาซินและไรแฟมพิซิน ทุกวัน เปรียบเทียบกับการใช้ยา WHO – MDT ในผู้ป่วยโรคเรื้อนชนิดเชื้อมากนาน 12 ถึง 24 เดือน และกับการให้ยา WHO – MDT นาน 12 เดือน แล้วตามด้วยการให้ยาผสมระหว่างไรแฟมพิซิน และ โอฟล๊อกซาซินทุกวันใน 4 สัปดาห์แรก รวมทั้งได้ทบทวนการรักษาในกรณีพิเศษโดยเฉพาะ และในผู้ป่วยที่กลับเป็นโรคเรื้อนซ้ำใหม่ด้วย

References

1. พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่คณะกรรมการมูลนิธิราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันจันทร์ที่ 2 มิถุนายน2540. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน); 2540.

2. ธีระ รามสูต. โครงการควบคุมโรคเรื้อนตามแนวพระราชดำริ พระราชทฤษฎีราชประชาสมาสัย:พระราชทานสถาบันราชประชาสมาสัย/มูลนิธิราชประชาสมาสัยในพระบรมราชูปถัมภ์และโรงเรียนราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์. ใน.ธีระ รามสูต. ประวัติศาสตร์โรคเรื้อนในประเทศไทย.กรุงเทพฯ : บริษัทมาสเตอร์คีย์ จำกัด; 2559.

3. ธีระ รามสูต, สมชาย รุ่งตระกูลชัย, รัชต์ วงศ์ตรังคพันธ์,กฤษฎา มโหทาน. พระมหากรุณาธิคุณจากสถาบันราชประชาสมาสัย สืบสานสู่การพัฒนาโครงการควบคุมโรคเรื้อนตามแนวพระราชดำริสมดังพระราชดำริ และพระราชปณิธาน. กรุงเทพฯ: บริษัทมาสเตอร์คีย์จำกัด; 2553.

4. ธีระ รามสูต. การริเริ่มโครงการควบคุมโรคเรื้อนแบบใหม่ที่มุ่งค้นหาผู้ป่วยที่บ้านตามข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก :โครงการนำร่องที่ขอนแก่น.ใน. ธีระ รามสูต. ประวัติศาสตร์โรคเรื้อนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : บริษัทมาสเตอร์คีย์จำกัด;2559.

5. ธีระ รามสูต. การเริ่มขยายโครงการควบคุมโรคเรื้อนตามแนวพระราชดำาริครั้งแรกที่มหาสารคามกาฬสินธุ์และร้อยเอ็ด.ใน ธีระรามสูต.ประวัติศาสตร์โรคเรื้อนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: บริษัทมาสเตอร์คีย์ จำกัด; 2559.

6. Teera Ramasoota. Development of leprosy controlin Thailand : the integration and primary healthcare approach. Presented at the InternationalMeeting of International Federation of LeprosyOrganization (ILEP), Bangkok 14 December 1990.

7. ธีระ รามสูต, ประจักษ์ โล่สุวรรณ, สมบูรณ์ชุณห์ประเสริฐ, เสรี รุ่งเรือง. รายงานผลการอบรมปฐมนิเทศก่อนโอนมอบงานควบคุมโรคเรื้อนระยะถาวรให้แก่ 67 จังหวัด. วารสารกรมการแพทย์
และอนามัย 2516; 1 (1): 54–72.

8. ธีระ รามสูต. การขยายโครงการควบคุมโรคเรื้อนตามแนวพระราชดำริครอบคลุมทุกจังหวัด และโอนมอบให้ระบบบริการสุขภาพดำเนินการอย่างถาวร.ใน. ธีระ รามสูต. ประวัติศาสตร์โรคเรื้อนในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : บริษัทมาสเตอร์คีย์จำกัด;2559.

9. Ramasoota T, Rungruang S, Sampatavanich S.Prefliminary study on dapsone resistant leprosy inThailand. J Public Health 1983 ; 2 : 116 – 22.

10. World Health Organization. WHO TechnicalReport Series No. 676, Chemotherapy of Leprosyfor Control Programme : Report of a WHO StudyGroup, Geneva : WHO; 1982.

11. ธีระ รามสูต. ความก้าวหน้าและข้อควรปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ยาเคมีบำบัดโรคเรื้อนผสมแบบใหม่ตามข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก. แพทยสภาสาร 2530; 10 (1) : 5 – 13.

12. World Health Organization. Enhanced Global Strategy for Further Reducing the Disease BurdenDue to Leprosy (2011–2015). Operational Guidelines (Updated). WHO, SEARO, 2019; 27.

13. Levy L, Shepard CC, Fasal P. The bactericidaleffect of rifampicin on M. Leprae in Man a) single doses of 600, 900 and 1200 mg ; and b) daily doses of 300 mg. Int J lepr 1976; 44: 183 – 7.

14. ทัศนีย์ อินทราทิตย์. ผลกระทบของการใช้ยาเคมีบำบัดผสมในระยะเวลา 5 ปีแรกของการเปลี่ยนแปลงภาวะผู้ป่วยโรคเรื้อนในประเทศไทย.วารสารโรคติดต่อ 2537; 20: 21 – 30.

15. ศรีสุนทร วิริยะวิภาต, รัชนี มาตภูธร, จิรพรรณ ศรีพงศ์กร. ผลกระทบของยาเคมีบำบัดผสมต่อการลดต่ำลงของอัตราความชุกและอัตราการค้นพบผู้ป่วยโรคเรื้อนใหม่ในจังหวัดขอนแก่น. วารสารโรคติดต่อ2538; 21: 98 – 102.

16. ธีระ รามสูต. 40 ปีของการบุกเบิกและพัฒนาสู่ความสำเร็จของการกำจัดโรคเรื้อนในประเทศไทย.กรุงเทพฯ : บริษัทศรีเมืองการพิมพ์จำกัด; 2541.

17. Noordeen SK. Elimination of leprosy as a public health problem. Lepr Rev 1997; 63 : 1 – 4.

18. World Health Organization. Report of the frst meeting of the WHO technical advisory group onelimination of leprosy. Geneva : WHO; 2000.

19. ธีระ รามสูต. 54 ปีแห่งการสืบสานโครงการควบคุมโรคเรื้อนตามแนวพระราชดำริ สู่ความสำเร็จของการกำจัดโรคเรื้อนอย่างยั่งยืนสมดังพระราชปณิธาน.ใน. ธีระ รามสูต. 50 ปีราชประชาสมาสัย แห่งการสนองพระราชปณิธาน. กรุงเทพฯ : บริษัทมาสเตอร์คีย์จำกัด; 2533.

20. ธีระ รามสูต. ความสำเร็จการกำจัดโรคเรื้อนได้ไม่เป็นปัญหาสาธารณสุขและพัฒนาสู่การกำจัดโรคเรื้อนอย่างยั่งยืนสมดังพระราชปณิธาน. ใน. ธีระรามสูต. ประวัติศาสตร์โรคเรื้อนในประเทศไทย.กรุงเทพฯ : บริษัทมาสเตอร์คีย์จำกัด; 2559.

21. MaedaS. multidrugresistant mycobacterial leprosy from patients with leprosy. Antimicrob Agents Chemother 2001; 45: 3635–9.

22. Genbre S, Saunderson P, Byase P. Relapse afterfxed duration multidrug therapy : the AMFEScohart. Lepr Rev 2000; 71: 325–31.

23. Guelpa – Lauras CC. Activities of pefloxacin andciprofoxacin against Mycobacterium leprae in themouse. Int J Lepr Other Mycobact Dis 1987; 55:
70–7.

24. Grosset JH. Activity of ofloxacin against Mycobacterium leprae in mouse. Int J Lepr OtherMycobact Dis 1988; 56: 259–64.

25. Ji B, Perani EG, Grosset J H. Effectiveness of clarithromycin and minocycline alone and incombination against experimental Mycobacterium leprae infection in mice. Antimicrob AgentsChemother 1991; 35: 579–81.

26. Ji B. Bactericidal activities of new drugs against Mycobacterium leprae in nude mice. Antimicrob,Agents Mycobact Dis 1990; 58: 12–8.

27. Grosset JH. Clinical trial of single dose of clarithromycin plus minocycline with or withoutofloxacinagainstMycobacterium lepraein patients.Antimicrob Agents Chemother 1990; 580:281–95.

28. Ji B. Bactericidal activity of single dose of clarithromycin plus minocycline with of without ofloxacinagainstMycobacterium lepraeinpatients.
Antimicrob Agents Chemother 1996; 40: 2137–41.

29. Ji B. Clinical trial of ofloxacin alone and in combination with dapsone plus clofazimine fortreatment of lepromatous leprosy. AntimicrobAgents Chemother 1994; 38: 662–7.

30. Gelber DH. A clinical trial of minocycline in lepromatous leprosy. Br Med J 1992; 304: 91–2.

31. Ji B. Bactericidal activity of single dose of clarithromycin plus minocycline with or withoutofloxacinagainstMycobacterium lepraeinpatients.
Antimicrob Agents Chemother 1996; 40: 2137–41.

32. JiB.Powerful bactericidal activity of clarithromycin and minocycline against Mycobacterium leprae inlepromatous leprosy. J Infect Dis 1993; 168:188–90.

33. World Health Organization. WHO Expert Committee on Leprosy, Eight Repot WHOtechnical report series no. 968. Geneva : WorldHealth Organization; 2012.

34. Consigny SA. Bactericidal activities of HMR 3647, moxifloxacin and rifapentine againstMycobacterium leprae in mice. Antimicrob AgentsChemother 2000; 44: 2919–21.

35. International Leprosy Associations Report of the International Leprosy Association TechnicalForum. Int J Lepr 2002 ; 70 : supple : 51 – 6.

36. Fijardo TT. A comparative clinical trial in multibacillary leprosy with long – term relapserates of four different multidrug regimens. Am JTrop Med Hyg 2009; 81: 331-4.

37. Brito MFM, Gallo MEN. Retreatment of leprosy relapse. Anais Brasileiros Dermatol 2005; 80:255 - 60.

38. Jing Z. Twenty fve years follow up of MB Leprosy patients treated with a modifed MDT regimen after a full course of dapsone monotherapy. Lep Rev
2008; 79: 302 – 10.

39. Wu Q. A study on a possibility of predicting early relapse in leprosy using a ND – O – BSA basedELISA. Int J Lepr 2002; 70: 1 – 8.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-11-20