การติดเชื้อไข้เดงกีร่วมกับไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน: กรณีศึกษา

Main Article Content

สายทิพย์ ตัน

บทคัดย่อ

โรคติดเชื้อไวรัสเองก็เป็นโรคติดเชื้อไวรัส ที่มียุงเป็นพาหะที่พบบ่อยที่สุด จัดเป็นปัญหาสําคัญ ทางสาธารณสุขของประเทศไทย อาการปวดท้องเป็นอาการแสดงที่พบได้และอาจก่อให้เกิดความสับสน ในการวินิจฉัย การพบไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลันร่วมกับ โรคติดเชื้อไวรัสเดงกี่พบได้ไม่บ่อย ผู้รายงานนําเสนอ ผู้ป่วยเด็กชาย 1 รายที่มีอาการไข้ร่วมกับปวดท้อง ได้รับการทําผ่าตัดไส้ติ่งที่โรงพยาบาลพิมาย โดยผลการตรวจ ทางน้ําเหลืองและผลชิ้นเนื้อยืนยันการติดเชื้อไข้เดงกีและไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน

Article Details

บท
บทความวิชาการทั่วไป

References

1. ประสงค์ วิทยถาวรวงศ์,สราวุธ บางขาว,กัณณพนต์ ธีรธรรมธาคา, พลเทพ ชาญประสบผล. ผู้ป่วยไข้เลือดออกร่วมกับไส้ติ่งอักเสบ ฝืในไตรายงานผู้ป่วย. วารสารกุมารเวชศาสตร์ 2557;53(1): 61-65

2. Chukiat Sirivichayakul, Kriengsak Limittikul, Pornthep Chanthavanich, et al. Dengue Infection in Children in Ratchaburi, Thailand: A Cohort Study. Il. Clinical Manifestations. PLos Negl Trop Dis. 2012 Feb; 6(2): e1520

3. ศิริเพ็ญ กัลยาณรุจ, สุภาวดี พวงสมบัติ. การติดเชื้ออาการและอาการแสดง. ใน: คู่มือวิชาการโรคติดเชื้อเคงกีและ โรคไข้เลือดออกเดงกีด้านการแพทย์และสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์, 2558: 16-23

4. Wagner JM, McKinney WP, Carpenter JL.Does this patient have appendicitis? JAMA. 1996:276: 1589-1593

5. Halstead SB. Dengue. Lancet 2007; 370(9599):1644-1652

6. สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข. สถานการณ์ไข้เลือดออก
ในประเทศไทยย้อนหลังรายปี[online],2ร58(สืบคั้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2559]:แหล่งข้อมูล: URL: http:/www. thaivbd.org/n/home
7. สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก[online], 2558[สืบค้นเมื่อ11 กรกฎาคม 2559]: แหล่งข้อมูละ URL:http://www.thaivbd.org/n/dengues/view/491

8. จรณิต แก้วกังวาล, จิระพัฒน์ เกตุแก้ว,ธีราวดี กอพยัคมินทร์. ระบาควิทยา. ใน:คู่มือวิชาการโรคติดเชื้อเคงกี่และโรคไข้เลือดออกเดงกี ด้านการแพทย์และสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่1. ครุงเทพฯ:สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์2558:1-10

9. Aiken JJ, Oldham KT. AcuteAppendicitis. In: Kliegman RM. NelsonTextbook of Pediatrics. 20" ed. Canada:Elsevier, 2015:1887-1894

10. Hackam DJ, Grikscheit T, Wang K,Upperman JS, Ford HR. Pediatric Surgery.In: Brunicard FC. Schwartz's Principles ofSurgery. 10" ed. United States: McGraw-Hill,2014: 1597-1649

11. ธีระพงษ์ ดัณฑวิเชียร, อุษา ทิสยากร.Dengue[online], (สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน2558]; แหล่งข้อมูล: URL: http://www.med.cmu. ac.th/HOME/file/5509Dengue.pdf

12. Pancharoen C, Mekmullica J, Thisyakomn U. Primary dengue infection: what are the clinical distinctions from secondary infection? Southeast Asian J Trop Med Public Health 2001 Sep;32(3):476-80

13. Pancharoen C, Urupongpisam S, Thisyakom C, Thisyakorn U. Clinical and laboratory differences between primary and secondary dengue infection. Chula Med J. 2002 June; 46(6):471-7

14. Halstead SB. Observation related to pathogenesis of dengue hemorrhagic fever. VI. Hypothesis and discussion. Yale J Bio Med. 1970 Apr; 42(5): 350-62

15. สุจิตรา นิมมานนิตย์. Dengue haemorrhagic fever. ใน: ปัญหาโรคเด็กที่พบบ่อย. สุจิตรา นิมมานนิตย์. บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ. 2535

16. WHO SEARO Comprehensive Guidelines for the Prevention and Control of Dengue and Dengue Hemorrhagic Fever. Revised and Expanded Edition, 2011

17. อัญช อร่ามเธียรธำรง. โรคติดเชื้อไวรัสเคงกี่ในผู้ป่วยเด็กโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี. วารสารกุมารเวชศาสตร์ 2554;50(2): 130-141

18. ธีระพงษ์ ตัณทวิเชียร, อุยา ทิสยากร.Dengue: A new paradigm from children to adults. การประชุมวิชาการประจำปีคณะแพทยศาสตร์ มศว Patient Safiety2556;31-39

19. Premaratna R, Bailey MS, Ratnasena BG, de Silva HJ. Dengue fever mimicking acute appendicitis. Trans R Soc Trop MedHyg. 2007 Jul; 101(7):683-5

20. Senanatake MP, Samarasinghe M. Acute appendicitis complicated by mass formation occurring simultaneously with serologically proven dengue fever: a case report. J Med Case Rep. 2014 Apr; 8:116

21. Vagholkar K, Mirani J, Jain U. Abdominal Manifestations of Dengue. JMSCR. 2014 Dec; 2(12) : 3159-3162