อาหารและความปลอดภัยของอาหารต่อพัฒนาการด้านสมอง ของทารกในครรภ์

ผู้แต่ง

  • ขจิต บุญประดิษฐ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
  • จตุพร ตันตะโนกิจ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครศรีธรรมราช คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก

คำสำคัญ:

อาหาร, พัฒนาการด้านสมองของทารกในครรภ์ , หญิงตั้งครรภ์

บทคัดย่อ

สมองเป็นอวัยวะที่สำคัญที่สุดของร่างกายซึ่งมีโครงสร้างและหน้าที่ที่ซับซ้อน และเป็นรากฐานของพัฒนาการหลายๆด้าน การส่งเสริมการพัฒนาทางด้านสมองของทารกในครรภ์ เป็นช่วงเวลาทองในการพัฒนาสมอง ระบบประสาท ส่งผลต่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งถ้าผ่านช่วงนี้ไปแล้วไม่สามารถย้อนกลับมาพัฒนาได้ โดยเฉพาะในหญิงตั้งครรภ์เป็นกลุ่มสำคัญ เนื่องจากพัฒนาการของทารกในครรภ์ ได้รับอิทธิพลมาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมเหล่านี้หากหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ทัศนคติ และการกระทำของหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่เหมาะสม จะเป็นอันตรายขณะตั้งครรภ์อาจจะส่งผลให้ทารกในครรภ์มีโอกาสเกิดความผิดปกติแต่กำเนิด พัฒนาการล่าช้า ซึ่งนำไปสู่ผลกระทบทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ จิตสังคม และเศรษฐกิจ  ดังนั้นบทความนี้จึงนำเสนอ เกี่ยวกับอาหารที่มีประโยชน์ต่อพัฒนาการด้านสมองของทารกในครรภ์ และความปลอดภัยของอาหารที่จำเป็นต่อพัฒนาการทางด้านสมองของทารกในครรภ์ รวมถึงบทบาทของพยาบาลในการส่งเสริมอาหารและความปลอดภัยของอาหาร เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนาแนวทางการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสมองของทารกในครรภ์

References

World Health Organization. Promoting optimal fetal development: report of a technical consultation [Internet]. 2006 [cited 2023 Jan 25]. Available from: https://www.who.int/nutrition/topics/fetal_dev_report_EN.pdf

Lapres J, Kersten B, Tang Y. Gunstream’s Anatomy & Physiology. 6th ed. New York: McGraw-Hill Education; 2016.

Moore KL, Dalley AF, & Agur AM. Clinically oriented anatomy. 9th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2013.

Barkovich AJ, Raybaud C. Pediatric neuroimaging. 6th ed. Philadelphia: Wolters Kluwr; 2019.

Gabbe SG, Niebyl JR, Simpson JL, Landon MB, Galan HL, Jauniaux ERM, et al. Obstetrics: Normal and problem pregnancies. 7th ed. Philadelphia: Elsevier; 2017.

National Institute for Occupational Safety and Health; 2017. Reproductive health and the workplace [Internet]. 2017 [cited 2023 Jan 23]. Available from: https://www.cdc.gov/niosh/topics/repro/pesticides.html

Ehrenkranz RA, Dusick AM, Vohr BR, Wright LL, Wrage LA, Poole WK. Growth in the Neonatal Intensive Care Unit Influences Neurodevelopmental and Growth Outcomes of Extremely Low Birth Weight Infants. Pediatrics 2006;117:1253-61.

Department of Health. The miracle of 1,000 days: Maternal and child nutrition, growth and development policy. Department of health Ministry of public Health, Thailand [Internet]. 2017 [cited 2023 Jan 22]. Available from: https://thailand.un.org/sites/default/files/2022-08/UNICEF%20Thailand%-Eng.pdf

Department of health; Department of health annual report 2018 [Internet]. 2018. [cited 2023 Jan 22]. Available from: http://planning.anamai.moph.go.th

World Health Organization (WHO). Five keys to safer food manual [Internet]. 2006 [cited 2023 Jan13]. Available from: http://apps.who.int/iris/bitstream/10665/43546/1/9789241594639_eng.pdf

Centers for Disease Control and Prevention. Parasites – Toxoplasmosis [Internet]. 2013 [cited 2023 Mar 22]. Available from: https://www.cdc.gov/parasites/toxoplasmosis/

U.S. FDA. Food safety for pregnant women. [Internet]. 2016 [cited 2023 Jan 22]. Available from: https://www. https://www.fda.gov/food/people-risk-foodborne-illness/food-safety-pregnant-women-and-their-unborn-babies .

The American College of Obstetricians and Gynecologists. Listeria and pregnancy [Internet]. 2017 [cited 2023 Dec 22]. Available from: https://www.acog.org/Patients/FAQs/Listeria-andPregnancy

Wagijo MA, Sheikh A, Duijts L, & Been JV. Reducing tobacco smoking and smoke exposure to prevent preterm birth and its complications. Pediatric Respiration Reviews; 2015,22, 3-10. Doi: org/10.1016/j.prrv.2015.09.002

Cunningham GF, Leveno K, Dashe J, Hoffman B, Spong C, & Casey B. Williams obstetrics 26th ed. McGraw Hill: Medical; 2022.

เกสรา ศรีพิชญาการ, วายุรี ลําโป, ยุพิน เพียรมงคล. พฤติกรรมการเตรียมอาหารปลอดภัยของสตรีตั้งครรภ์. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม 2561;125-131.

ปวินตรา มานะดี, เกสรา ศรีพิชญาการ, ยุพิน เพียรมงคล. การรับรู้ความเสี่ยง การรับรู้อุปสรรคและพฤติกรรมการบริโภคอาหารปลอดภัยในหญิงตั้งครรภ์. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2561;36:176-84.

Bureau of Information, Office of the Permanent Secretary of MOPH. The Ministry of Public Health reveals the results of the “IQ” survey of Grade 1 children as higher than the standard level while “EQ” is at a normal level. Bureau of Information, Office of the Permanent Secretary of MOPH [Internet]. 2022 [Cited 2023 Jan12], Available from: https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/04/173883/

สุปราณี แจ้งบำรุง. ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2563. กรุงเทพมหานคร: สำนักอาหาร กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข; 2563.

World Health Organization (WHO). Burden of foodborne diseases in the South-East Asia Region [Internet]. 2017 [cited 2023 Jan 22]. Available from: http://www.searo.who.int/about/administration_structure/cds/burden-of- foodborne-sear.pdf?ua=1.

กรวิทย์ อยู่สกุล, เพชรรัตน์ บุญร่วมแก้ว, ศุภลักษณ์ ไพศาล, บรรณาธิการ. ผลสัมฤทธิ์การเรียนของนักศึกษาพยาบาลในการให้สุขศึกษาเรื่องความปลอดภัยทางอาหารในหญิงตั้งครรภ์. การประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณ์วิจัย” ครั้งที่ 11; 27-28 มีนาคม 2562; มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. นครศรีธรรมราช: สถาบันวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์: 2562.กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. กรมอนามัย เตือนอันตรายตะกั่วจากหม้อก๋วยเตี๋ยวด้อยคุณภาพ ชี้ พิษสะสมมากเสี่ยงอัมพาต [อินเตอร์เน็ต]. 2556 [เข้าถึงเมื่อ 12 ม.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://www.anamai.moph.go.th/ewt_news.php?nid=2818.

Jin X, Tian X, Liu Z, Hu H, Li X, Deng Y, Li N, Zhu J. Maternal exposure to arsenic and cadmium and the risk of congenital heart defects in offspring. Reprod Toxicol 2016:59:109-16. doi: 10.1016/j.reprotox.2015.12.007.

Wu J, Zhang C, Pei L, Chen G, Zheng X. Association between risk of birth defects occurring level and arsenic concentrations in soils of Lvliang, Shanxi province of China. Environmental Pollution 2014:191:1-7. doi: 10.1016/j.envpol.2014.04.004.

พรพิมล กองทิพย์. พาราควอตสุดอันตราย! ส่งพิษภัยต่อจากแม่สู่ลูก แต่ลูกเจอหนักกว่า 4-6 เท่า [อินเตอร์เน็ต]. 2561. [เข้าถึงเมื่อ 30 ส.ค. 2561]. เข้าถึงได้จาก: https://www.thaipost.net/main/detail/6140. https://www.matichon.co.th/local/news_352399

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส). 5 วิธีล้างผักลดสารฆ่าแมลง [อินเตอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 23 ส.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://www.thaihealth.or.th/Content/32359-5%20วิธีล้างผัก%20ลดสารฆ่าแมลง%20.html.

กองสุขาภิบาลอาหาร สํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร. คู่มืออาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ [อินเตอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ12 ม.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก: http://www.foodsanitation.bangkok.go.th/foodsanitation/File/media_59/ manual/3.pdf.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-20