แนวทางการสนับสนุนด้านจิตใจเด็กช่วงสถานการณ์โควิด 19

ผู้แต่ง

  • ภัทรวลัย เมืองทอง คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์

คำสำคัญ:

การดูแลเด็ก , การสนับสนุนด้านจิตใจ , โควิด 19 , ความเข้มแข็งทางใจ

บทคัดย่อ

ในภาวะการระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งถือเป็นภาวะฉุกเฉิน ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมและสุขภาพของประชากรทุกกลุ่มวัย ทำให้วิถีชีวิตของคนทุกกลุ่มวัยมีการเปลี่ยนแปลงไปทำให้เกิดปัญหาต่อจิตใจและสังคมได้ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยเฉพาะในกลุ่มช่วงวัยเด็กที่ต้องพบกับเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นการจำกัดการทำกิจกรรมร่วมกับเด็กวัยเดียวกัน การเรียนออนไลน์ ซึ่งล้วนแล้วแต่ทำให้เกิดความเครียดและความวิตกกังวล รวมทั้งส่งผลต่อการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย การให้ดูแลด้านจิตใจมีส่วนสำคัญทำให้เด็กมีโอกาสคงไว้ซึ่งพัฒนาทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจเด็กจึงจำเป็นต้องได้รับกลไกการจัดการที่เข้มแข็งเพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดในมิติด้านจิตใจทั้งระยะสั้นและระยะยาวเพื่อคงไว้ซึ่งองค์ประกอบของสุขภาวะทางจิตตามแนวคิดมาตรการสนับสนุนทางจิตใจและจิตสังคมของ IASC (Inter-Agency Standing Committee) ดังนั้นวัตถุประสงค์ของบทความนี้เพื่อมุ่งเน้นให้บุคลากรทางการแพทย์ ครอบครัว สังคมเห็นถึงความสำคัญของการดูแลด้านจิตใจของเด็กช่วงสถานการณ์โควิด 19 การเสริมสร้างความเข็มแข็งทางใจ เพื่อจะช่วยให้เด็กความสามารถในการปรับตัว ฟื้นตัวกลับมาใช้ชีวิตตามปกติภายหลังเผชิญวิกฤต และจิตใจให้กลับสู่ภาวะปกติได้อย่างรวดเร็ว

References

World Health Organization (WHO). Coronavirus (COVID-19) Dashboard [Internet]. 2022 [cited 2022 Mar 1]. Available from: https ://covid19.who.int/.

UNICEF. The State of the World's Children 2021 On My Mind: Promoting, protecting and caring for children’s mental health [Internet]. 2022 [cited 2022 Mar 1]. Available from: URL:https://www.unicef.org/reports/state-worlds-children-2021.

กรมสุขภาพจิต. คู่มือการปฏิบัติงานทีมช่วยเหลือเยียวยาจิตใจทุกระดับ : ผู้ประสบภาวะวิกฤตในกรณีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 11 มี.ค. 2565]. เข้าถึงได้จาก: https://www.dmh.go.th/covid19/pnews/files/MCATTupdate.pdf

Dupuy HJ. The general well-being schedule. In: Mcdowell & Clair Newell, editor. New Yok: Oxford university press; 1997.

Inter-Agency Standing Committee. IASC Guidance on Operational Consideration for Multispectral Mental Health and Psychosocial Support Programs during the COVID-19 Pandemic [Internet]. 2022 [cited 2022 Mar 1]. Available from: https://interagencystandingcommittee.org

อารียา สตารัตน์. การจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตราชเทวี [สารนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2556.

ราชวิทยาลัยจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. คำแนะนำในการดูแลจิตใจช่วงการระบาดของไวรัส Covid-19 [Mental care advice during the Covid-19 virus outbreak] [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 15 ก.พ. 2565].เข้าถึงได้จาก:

https://www.rcpsycht.org/th/organization/laws-regulations.

ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การสร้างความเข้มแข็งทางใจสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด; 2551.

กรมสุขภาพจิต. เปลี่ยนร้ายกลายเป็นดี พลังสุขภาพจิต RQ. สำนักสุขภาพจิตสังคม กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข; 2552.

อภิพร เป็งปิง, ศศิลักษณ์ ขยันกิจ.การนำเสนอกรอบแนวคิดบทบาทครูในการส่งเสริมความเข้มแข็งทางจิตใจของเด็กวัยอนุบาล. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา (OJED) [อินเตอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 11 พ.ย. 2564].เข้าถึงได้จาก: https://www.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/184416/144214.

ศูนย์สุขภาพจิตที่ 2 และโรงพยาบาลจิตเวช พิษณุโลก. แยกตัวที่บ้านอย่างไรให้มีความสุข. [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 9 มิ.ย. 2565].เข้าถึงได้จาก https://www.mhc2.go.th/newweb/files/img/160214646502-2.1.jpg.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-08-30