การสนับสนุนทางสังคมต่อครอบครัวเด็กป่วยโรคมะเร็งในยุคสังคมสารสนเทศ
คำสำคัญ:
การสนับสนุนทางสังคม, เด็กป่วยโรคมะเร็ง, สังคมสารสนเทศบทคัดย่อ
มะเร็งในเด็ก เป็นโรคที่มีการดำเนินยาวนาน มีภาวะแทรกซ้อนมาก และทำให้เด็กป่วยเสียชีวิตได้ โรคนี้จึงส่งผลกระทบต่อครอบครัวซึ่งเป็นผู้ดูแลหลัก ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและเศรษฐกิจ การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากบุคลากรสุขภาพรวมทั้งพยาบาล จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยรักษาคุณภาพชีวิตของครอบครัว รูปแบบของการสนับสนุนทางสังคมโดยเฉพาะด้านข้อมูลข่าวสารในปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก โดยมีการเพิ่มช่องทางในการรับรู้ข้อมูลที่หลากหลาย เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศมีการพัฒนามากขึ้น ทำให้การสื่อสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ตมีประสิทธิภาพสูง รวดเร็ว ประหยัดและเข้าถึงง่าย บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อนำเสนอบทบาทพยาบาลในการสนับสนุนทางสังคมต่อครอบครัวเด็กป่วยโรคมะเร็งในยุคที่เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทสำคัญ
References
Word Health Organization (WHO). Disease burden and mortality estimate, cause-specific mortality, 200-2016 [Internet]. 2016 [cited 2020 Mar 20]. Available from: https://www.who.int/healthinfo/global_burden_disease/estimates/en/
American Cancer Society. Cancer Facts & Figures 2020. [Internet]. 2020 [cited 2020 Mar 22]. Available from: https://www.cancer.org/content/dam/cancer-org/research/cancer-facts-and-statistics/annual-cancer-facts-and-figures/2020/cancer-facts-and-figures-2020.pdf
กระทรวงสาธารณสุข. สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2561 [อินเทอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ 25 มี.ค. 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/statistic%2061.pdf
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: นิวธรรมดาการพิมพ์; 2562.
House JS. Work stress and social support. California: Addison-Wesley Publishing Company; 1981.
Rodgers CC. The child with cancer. In: Hockenberry MJ, Wilson D editor. Wong’s nursing care of infants and children. St. Louis: Elsevier Mosby; 2015. 1379-1724. 5. House JS. Work stress and social support. California: Addison-Wesley Publishing Company; 1981.
พวงทอง ไกรพิบูลย์. มะเร็งในเด็ก. นนทบุรี: อมรินทร์สุขภาพ; 2553.
Dupuis LL, Milne-Wren C, Cassidy M, Barrera M, Portwine C, Johnston DL, et al. Symptom assessment in children receiving cancer therapy: the parents’ perspective. Support Care Cancer. 2010;18:281-99.
Erickson JM, Beck SL, Christian BR, Dudley W, Hollen PJ, Albritton KA, et al. Fatigue, sleep-wake disturbances, and quality of life in adolescents receiving chemotherapy. J Pediatr Hematol Oncol 2011;33:e17-25.
จินตนา วัชรสินธ์, รวิวรรณ คำเงิน, กิจติยา รัตนมณี, ชนกพร ศรีประสาร, ณัชนันท์ ชีวานนท์. ความทุกข์ทรมานของบิดามารดาที่มีบุตรเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2560;35:78-87.
วิภาวี พลแก้ว, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการปรับตัวของพี่น้องเด็กป่วยโรคมะเร็ง. วารสารพยาบาลศาสตร์ [อินเทอร์เน็ต]. 2557 [เข้าถึงเมื่อ 20 เม.ย. 2563];31:71-81. เข้าถึงได้จาก: https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/26489
Neville A, Simard M, Hancock K, Alan R, Amani S, Barrera M, The emotional experience and perceived changes in siblings of children with cancer reported during a group intervention Oncol Nurs Forum [Internet]. 2016 [cited 2020 Apr 3];43:E188-94. Available from: https://search.proquest.com/openview/54a0bd41978da251395902a213b27d60/1?pq-origsite=gscholar&cbl=37213
เกวดี ฐามณี, อัจฉรียา ปทุมวัน, จอนผะจง เพ็งจาด. ความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งและครอบครัวตามการรับรู้ของผู้ดูแลในครอบครัว. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2561;24:295-312.
Dickinson R, Hall S, Sinclair JE, Bond C, Murchie P. Using technology to deliver cancer follow‑up: A systematic review. BMC Cancer 2014; 14:311. doi: 10.1186/1471-2407-14-311.
วราภรณ์ คงสุวรรณ. การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระยะท้ายของชีวิตที่ใช้เทคโนโลยี. พิมพ์ครั้งที่ 2. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์; 2559.
รวุฒิ แสงทอน จุฬารัตน์ ห้าหาญ และรุจิรัตน์ มณีศรี. ผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมเด็กวัยเรียนโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2563;7:158–68.
Minoo A, Ashkan G, Ali M, Leila J M. Clinical Application of a Humanoid Robot in Pediatric Cancer Interventions. Int J of Soc Robotics 2016;8:743-59. doi: 10.1007/s12369-015-0294-y
Hooke MC, Gilchrist L, Tanner L, Hart N, Withycombe JS. Use of a Fitness Tracker to Promote Physical Activity in Children with Acute Lymphoblastic Leukemia. Pediatr Blood Cancer. 2016;63:684-9. doi:10.1002/pbc.25860
Hennemann-Krause L, Lopes AJ, Araujo JA, Petersen EM, Nunes RA The assessment of telemedicine to support outpatient palliative care in advanced cancer. Palliat Support Care 2015;13:1025-30.
ภทพร บวรทิพย์ และกฤตธีรา เพียรรักษ์การ. บทบาทพยาบาลชุมชนในการใช้เทคโนโลยีดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง. วารสารสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ สาขาภาคเหนือ 2562;25:14-22.
Castellano C, Cencerrado A. Reality: an emerging field in pediatric psycho-oncology requiring research. Adv Mod Oncol Res Research 2018;4:1-4. doi: 10.30564/amor.v4i6.195
Ramsey WA, Heidelberg RE, Gilbert AM, Heneghan MB, Badawy SM, Alberts NM. E Health and m Health interventions in pediatric cancer: A systematic review of interventions across the cancer continuum. Psycho-oncology 2019;29:17-37. DOI: 10.1002/pon.5280
สาขาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. เครื่องเพ็ท/ซีที (PET/CT) [อินเทอร์เน็ต]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 22 พ.ค. 2563]; เข้าถึงได้จาก: http://radiology.md.chula.ac.th/nuclearmedicine/?page_id=18
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในวิทยาลัยพยาบาลฯ ความรับผิดชอบเกี่ยวกับบทความแต่ละเรื่องผู้เขียนจะรับผิดชอบของตนเอง