ภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้สูงอายุ : ความท้าทายของการพยาบาล
คำสำคัญ:
การพยาบาล, ผู้สูงอายุ, ภาวะสับสนเฉียบพลันบทคัดย่อ
ภาวะสับสนเฉียบพลันเป็นการเสื่อมถอยของกระบวนการรู้คิดการสูญเสียความตั้งใจอย่างทันทีทันใด มักมีอาการเป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน มีลักษณะอาการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงในช่วงวัน เป็นภาวะที่เกิดขึ้นชั่วคราว สามารถฟื้นหายเป็นปกติได้ สาเหตุของภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้สูงอายุ ประกอบด้วย ปัจจัยเดิมและปัจจัยกระตุ้นภาวะสับสนเฉียบพลันมีความสัมพันธ์กับระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลที่ยาวนานขึ้น และอัตราการตายที่สูงขึ้นด้วย ภาวะสับสนเฉียบพลันมี 4 ลักษณะคือ ตื่นตัว ง่วงซึม ผสมผสาน และระดับความรู้สึกตัวปกติ การวินิจฉัยภาวะสับสนเฉียบพลันสามารถพิจารณาตามเกณฑ์วินิจฉัยของสมาคมจิตแพทย์แห่งสหรัฐอเมริกาฉบับที่ 5 และแบบประเมินภาวะสับสนเฉียบพลัน ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ง่ายต่อการใช้งาน และเป็นที่นิยม การจัดการภาวะสับสนเฉียบพลันขึ้นกับสาเหตุของการเกิดภาวะสับสนเฉียบพลัน ทั้งนี้ การจัดการโดยการไม่ใช้ยาเป็นทางเลือกอันดับแรกในการป้องกันและการจัดการภาวะสับสนเฉียบพลัน ซึ่งประกอบไปด้วย การกระตุ้นเตือนผู้สูงอายุให้อยู่กับปัจจุบันให้รับรู้วัน เวลา สถานที่ และบุคคล ส่งเสริมภาวะโภชนาการ ส่งเสริมการนอนหลับ เป็นต้น การวินิจฉัยและการรักษาอย่างรวดเร็ว สามารถช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากภาวะสับสนเฉียบพลันได้
References
Inouye SK, Westendorp RGJ, Saczynski JS. Delirium in elderly people. Lancet 2014;383:911-22.
Cabrera GM, Kornusky JRM. Delirium in older patients. Ipswich, Massachusetts: EBSCO Publishing; 2018.
Schub TB. Delirium: an overview. Ipswich, Massachusetts: EBSCO Publishing; 2018.
Inouye SK. Delirium in older persons. NEJM 2006; 354:1157-65.
Fick DM, Steis MR, Waller JL, Inouye SK. Delirium superimposed on dementia is associated with prolonged length of stay and poor outcomes in hospitalized older adults. J Hosp Med 2013;8:500-5.
Rice KL, Bennett M, Gomez M, Theall KP, Knight M, Foreman MD. Nurses' recognition of delirium in the hospitalized older adult. Clinical Nurse Specialist 2011;25:299-311.
Bellelli G, Nobili A, Annoni G, Morandi A, Djade CD, Meagher DJ, et al. Under-detection of delirium and impact of neurocognitive deficits on in-hospital mortality among acute geriatric and medical wards. Eur J Intern Med 2015; 26:696-704.
สิริมาศ ปิยะวัฒนพงศ์, มยุรี ลี่ทองอิน, สุภาวดี เที่ยงธรรม, สาวิตรี สมมงคล, ธารินี เพชรรัตน์, ศจีมาศ แก้โคตร. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ กับพฤติกรรมการพยาบาลของพยาบาลในการดูแลภาวะสับสนเฉียบพลันหลังผ่าตัดในผู้สูงอายุ. ศรีนครินทร์เวชสาร 2562;34:281-5.
ลีต้า อาษาวิเศษ, มยุรี ลี่ทองอิน, สิริมาศ ปิยะวัฒนพงศ์. ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติของพยาบาลต่อภาวะสับสนเฉียบพลันหลังผ่าตัดในผู้สูงอายุ โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2562;37:235-43.
ปรียาวดี เทพมุสิก, ศศิธร ชำนาญผล, นิตยา กรายทอง, สุกัญญา ผลวิสุทธุ์, จันทนา นิลาศน์, จรูญศรี มีหนองหว้า. ความรู้เกี่ยวกับภาวะสับสนเฉียบพลัน การเฝ้าระวังและการจัดการภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้สูงอายุผู้ใหญ่วิกฤติของพยาบาลวิชาชีพงานห้องผู้สูงอายุหนัก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ 2560;1:70-85.
Srinonprasert V, Pakdeewongse S, Assanasen J, Eiamjinnasuwat W, Sirisuwat A, Limmathuroskul D, et al. Risk factors for developing delirium in older patients admitted to general medical wards. J Med Assoc Thai 2011;94:99-104.
ศรีสรลักษ์ สุมงคล, นัยนา พิพัฒน์วณิชชา, พรชัย จูลเมตต์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสับสนเฉียบพลันหลังผ่าตัดในผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลัง. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 3 "นวัตกรรมที่พลิกโฉมสังคมโลก"; 25 พฤษภาคม 2561; มหาวิทยาลัยราชธานี. อุบลราชธานี; 2561. หน้า. 364-76.
ทิพยเนตร งามกาละ, พรทิพย์ มาลาธรรม, อรพิชญา ไกรฤทธิ์. อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงของภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้สูงอายุที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาล. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2561;24:138-49.
กัญจนา ปุกคำ, กุสุมา คุววัฒนสัมฤทธิ์, ธารทิพย์ วิเศษธาร. การประเมินความเป็นไปได้และผลลัพธ์ทางคลินิกของการใช้โปรแกรมการประเมินการป้องกันและการจัดการภาวะสับสนเฉียบพลันในหอผู้สูงอายุวิกฤตศัลยกรรม. วารสารการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ไทย 2562;6:68-86.
ปณิตา ลิมปะวัฒนะ. กลุ่มอาการผู้สูงอายุ และประเด็นทางสุขภาพที่น่าสนใจ. ขอนแก่น: หน่วยงานเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2560.
Inouye SK, Charpentier PA. Precipitating factors for delirium in hospitalized elderly persons: predictive model and interrelationship with baseline vulnerability. JAMA 1996;275:852-7.
สุวรรณา สกประเสริฐ, วิไลพรรณ สมบุญตนนท์, พรทิตา วิศวาจารย์, นิติพร สิริทิพากร. ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะ delirium ในผู้สูงอายุสูงอายุโรงพยาบาลศิริราช. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2558;33:60-8.
กมลกานต์ ปรีชาธีรศาสตร์, จิราพร เกศพิชญวัฒนา. การสร้างเครื่องมือคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันในผู้สูงอายุหลังผ่าตัด. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2559;28:79-89.
Oh ES, Fong TG, Hshieh TT, Inouye SK. Delirium in older persons: advances in diagnosis and treatment. JAMA 2017;318:1161-74.
กุลธิดา เมธาวศิน. ภาวะสับสนเฉียบพลันการวินิจฉัย แบบประเมินและแนวทางการรักษา. วารสารสมาคมประสาทวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2561;13:21-9.
Tieges Z, Evans JJ, Neufeld KJ, MacLullich AMJ. The neuropsychology of delirium: advancing the science of delirium assessment. Int J Geriatr Psychiatry 2018;33:1501-11.
Woten MRB, Pilgrim JRBM. Delirium in older patients: providing care in the acute care setting. Ipswich, Massachusetts: EBSCO Publishing; 2017.
Wongpakaran N, Wongpakaran T, Bookamana P, Pinyopornpanish M, Maneeton B, Lerttrakarnnon P, et al. Diagnosing delirium in elderly Thai patients: Utilization of the CAM algorithm. BMC Fam Pract 2011;12:65.
Inouye SK, Van Dyck CH, Alessi CA, Balkin S, Siegal AP, Horwitz RI. Clarifying confusion: the confusion assessment method: a new method for detection of delirium. Ann Intern Med 1990;113:941-8.
Pipanmekaporn T, Wongpakaran N, Mueankwan S, Dendumrongkul P, Chittawatanarat K, Khongpheng N, et al. Validity and reliability of the thai version of the confusion assessment method for the intensive care unit (CAM-ICU). Clin Interv Aging 2014;9:879-85.
Sessler CN, Gosnell MS, Grap MJ, Brophy GM, O'Neal PV, Keane KA, et al. The richmond agitation-sedation scale: validity and reliability in adult intensive care unit patients. Am J Respir Crit Care Med 2002; 166:1338-44.
Taran Z, Namadian M, Faghihzadeh S, Naghibi T. The effect of sedation protocol using richmond agitation-sedation scale (RASS) on some clinical outcomes of mechanically ventilated patients in intensive care units: a randomized clinical trial. J Caring Sci 2019;8:199-206.
Abraha I, Rimland J, Trotta F, Pierini V, Cruz-Jentoft A, Soiza R, et al. Non-pharmacological interventions to prevent or treat delirium in older patients: clinical practice recommendations the SENATOR-ONTOP series. J Nutr Health Aging 2016; 20:927-36.
Delirium management .In: Bulechek MG, Butcher KH, Dochterman MJ, editor. Nursing interventions classification (NIC). 5th ed. The university of Iowa Iowa city, Iowa; 2008. p. 252-3.
Schub TB, Smith NRMC. Delirium: diagnosis. Ipswich, Massachusetts: EBSCO Publishing; 2018.
Conley DM. The gerontological clinical nurse specialist's role in prevention, early recognition, and management of delirium in hospitalized older adults. Urologic Nursing 2011;31:337-42.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์ และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในวิทยาลัยพยาบาลฯ ความรับผิดชอบเกี่ยวกับบทความแต่ละเรื่องผู้เขียนจะรับผิดชอบของตนเอง