การพยาบาลผู้ป่วยเนื้องอกสมองระหว่างการผ่าตัด ที่ได้รับยาระงับความรู้สึกแบบทั่วไป: กรณีศึกษา

ผู้แต่ง

  • คำปิ่น แก้วกนก กลุ่มงานการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์

คำสำคัญ:

เนื้องอกในสมอง, การให้ยาระงับคามรู้สึกแบบทั่วไป, การพยาบาล

บทคัดย่อ

เนื้องอกสมองเป็นภาวะเกิดจากการเจริญเติบโตผิดปกติของเซลล์ภายในระบบประสาท การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเพื่อนำเนื้องอกออก เป็นวิธีการหนึ่งของการรักษาเนื้องอกสมอง และอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด อาทิ ติดเชื้อ  หรือสมองบวม แล้วส่งผลกระทบต่อระดับการรู้สึกตัว การควบคุมการเคลื่อนไหว สื่อสาร หรือความจำ เป็นต้น บทบาทการพยาบาลในช่วงการผ่าตัดจึงเป็นประเด็นที่สำคัญ กรณีศึกษาที่นำเสนอจะเป็นการพยาบาลอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยเนื้องอกสมองที่ได้รับยาระงับความรู้สึกแบบทั่วไปเพื่อผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ และกำจัดเนื้องอกในสมองทั้งระยะก่อนให้ยาระงับความรู้สึก ระยะระหว่างให้ยาระงับความรู้สึก ระยะหลังให้ยาระงับความรู้สึก และระยะกลับบ้าน เพื่อให้ผู้ป่วยได้กลับไปดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

References

นลินี พสุคันธภัค, เพ็ญ ภิญโญภาสกุล. แนวทางการพยาบาล ผู้ป่วยผ่าตัดเนื้องอกสมองสำหรับพยาบาลทั่วไป. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส; 2557.

Park Bong Jin, Kim Han Kyu, Sade Burak, Lee Joung H. Epidemiology. In: Lee Joung H. Meningiomas: Diagnosis, Treatment, and Outcome. New York: Springer; 2009. p.11.

Armstrong TS, Cron SG, Bolanos EV, Gilbert MR, Kang D-H. Risk factors for fatigue severity in primary brain tumor patients. Cancer 2010;1:2707-15.

อัตถพร บุญเกิด. โรคเนื้องอกสมอง (Brain tumor) [อินเตอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 5 ก.ค. 2562]. เข้าถึงได้จาก:https://med.mahidol.ac.th/surgery/sites/default/files/public/pdf/PDFneuro/4.pdf

พิมพญาภรณ์ ทรัพย์มีชัย. ปัจจัยทํานายสภาวะส่วนบุคคล ความทุกข์ทรมานจากอาการและพฤติกรรมการจัดการต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเนื้องอกสมอง [อินเตอร์เน็ต]. 2561 [เข้าถึงเมื่อ 10 ธ.ค. 2562]. เข้าถึงได้จาก: https://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2018/TU_2018_5814032040_10679_11254.pdf

American Brain Tumor Association (ABTA). Tumor Grading and Staging [internet]. 2014 [cited 2019Nov 15]. Available from: https://www.abta.org/brain-tumor-information/diagnosis/grading- staging.html

Niemelä A, Koivukangas J, Riitta H. Gender difference in quality of life among brain tumor survivors. J Neurol Neurophysiol 2011;2:116. doi: 10.4172/2155-9562.1000116.

วรรณนิสา ชัยวิสิทธิ์, จันทนา คล้ายเจริญ. บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเนื้องอกสมองขณะผู้ป่วยรู้สติ (Awake Craniotomy). เวชบันทึกศิริราช 2560;2:109-14.

สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเนื้องอกสมองสำหรับพยาบาลทั่วไป. นนทบุรี: สถาบันประสาทวิทยา; 2557.

สุจิตรา ลิ้มอำนวย, ชวนพิศ ทำนอง. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤต. พิมพ์ครั้งที่ 7 ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา; 2556.

Longo DL. 369 Seizures and Epilepsy. Harrison's principles of internal medicine. 18th ed. New York: McGraw-Hill; 2012. p.3258.

อรลักษณ์ รอดอนันต์, วธินี เล็กประเสริฐ, ฐิติกัญญา ดวงรัตน์. ตำราฟื้นฟูวิชาการวิสัญญีวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 1. ธนาเพรส; 2555.

Madden LK, DeVon HA.Systematic review of the effects of body temperature on outcome following adult traumaticbraininjury. J NeurosciNurs 2015;47:190-203.

Sadoughi A, Rybinnik I & Cohen R. Measurement and management of increased intracranial pressure. BMJ Open 2013;6:56-65.

Nicolato A, Gerosa MA, Fina P, Iuzzolino P, Giorgiutti F, Bricolo A. Prognostic factors in low-grade supratentorial astrocytomas: A uni-multivariate statistical analysis in 76 surgically treated adult patients. Surgical Neurology 1995;44:208-21.

อังกาบ ปราการรัตน์, วิมลลักษณ์ สนั่นศิลป์, ศิริลักษณ์ สุขสมปอง, ปฏิภาณ ตุ่มทอง. ตำราวิสัญญีวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: เอ-พลัส พริ้น; 2556.

ภัทรา พิมสาร. ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่วยโรคเนื้องอกสมองหลังผ่าตัด [อินเตอร์เน็ต]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 5 เม.ย.2562]. เข้าถึงได้จาก: https://cuir.car.chula.ac.th/bitstream/ 123456789/50879/1/ 5677195436.pdf

มานี รักษาเกียรติศักดิ์. ตำราวิสัญญีพื้นฐานและแนวทางปฏิบัติ (Basic Anesthesia and Practical Approach). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล; 2558.

อักษร พูลนิติพร, มานี รักษาเกียรติศักดิ์, พรอรุณ เจริญราช, นรุตม์ เรือนอนุกูล. ตำราฟื้นฟูวิชาการวิสัญญีวิทยา. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย; 2558.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-07